จารึก

The Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre

จารึกวัดเขาสุมนกูฏ

จารึก

จารึกวัดเขาสุมนกูฏ ด้านที่ 1

QR-code edit Share on Facebook

เวลาที่โพส โพสต์เมื่อวันที่ 9 ก.ค. 2564 15:31:40

ชื่อจารึก

จารึกวัดเขาสุมนกูฏ

ชื่อจารึกแบบอื่นๆ

หลักที่ 8 ศิลาจารึกวัดเขาสุมนกูฏ จังหวัดสุโขทัย, ศิลาจารึกเขาสุมนกูฏ พุทธศักราช 1912, สท. 9, 99/298/2550

อักษรที่มีในจารึก

ไทยสุโขทัย

ศักราช

พุทธศักราช 1912

ภาษา

ไทย

ด้าน/บรรทัด

จำนวนด้าน 4 ด้าน มี 107 บรรทัด ด้านที่ 1 มี 31 บรรทัด ด้านที่ 2 มี 29 บรรทัด ด้านที่ 3 มี 26 บรรทัด ด้านที่ 4 มี 21 บรรทัด

ผู้อ่าน

ยอร์ช เซเดส์ (พ.ศ. 2521), (พ.ศ. 2526)

ผู้ปริวรรต

ยอร์ช เซเดส์ (พ.ศ. 2521), (พ.ศ. 2526)

ผู้ตรวจ

1) ประเสริฐ ณ นคร (พ.ศ. 2521)
2) คณะกรรมการพิจารณาและจัดพิมพ์เอกสารทางประวัติศาสตร์ สำนักนายกรัฐมนตรี (พ.ศ. 2521)
3) กรมศิลปากร (พ.ศ. 2526)

เชิงอรรถอธิบาย

1. ยอร์ช เซเดส์ : “ดังอั้น” = ดังนั้น
2. ยอร์ช เซเดส์ : “รอยตีน หรือรอยฝ่าตีน” = รอยพระพุทธบาท
3. ยอร์ช เซเดส์ : “พู้น” = โน้น
4. ยอร์ช เซเดส์ : จารึกชิ้นนี้เข้าใจว่า ซ่อมไว้ผิดที่ เพราะข้อความไม่ติดต่อกัน
5. ยอร์ช เซเดส์ : “บ่มิ” = ไม่มี
6. ยอร์ช เซเดส์ : เดิมอ่านว่า “บ่อย่า”
7. ยอร์ช เซเดส์ : “มิอย่า” = ไม่หยุด, ไม่ขาด
8. ยอร์ช เซเดส์ : “เถิง” = ถึง
9. ยอร์ช เซเดส์ : เดิมอ่านว่า “บ่อย่า”
10. ยอร์ช เซเดส์ : “1281 เป็นมหาศักราช” = พุทธศักราช 1902
11. ยอร์ช เซเดส์ : “หารัง”, หา = ที่. แท้ รัง = แต่ง, ทำ, สร้าง