โพสต์เมื่อวันที่
3 ก.ค. 2564 22:11:43
ชื่อจารึก |
จารึกวัดสุปัฏนาราม 3 |
ชื่อจารึกแบบอื่นๆ |
อบ. 6 |
อักษรที่มีในจารึก |
เทวนาครี |
ศักราช |
พุทธศักราช 1590 |
ภาษา |
สันสกฤต, เขมร |
ด้าน/บรรทัด |
จำนวนด้าน 4 ด้าน มี 106 บรรทัด ด้านที่ 1 มี 27 บรรทัด, ด้านที่ 2 มี 22 บรรทัด, ด้านที่ 3 มี 30 บรรทัด, ด้านที่ 4 มี 27 บรรทัด |
ผู้อ่าน |
ชะเอม แก้วคล้าย (พ.ศ. 2537) |
ผู้แปล |
ชะเอม แก้วคล้าย (พ.ศ. 2537) |
เชิงอรรถอธิบาย |
1. ชะเอม แก้วคล้าย : คำว่า “เตา สุเรา” (เทพทั้งสองนั้น) ซึ่งหลับตาอยู่ อาจหมายถึงเทพเทวะ หรือบรรพบุรุษ ผู้สิ้นพระชนม์ไปแล้วผู้เป็นบุตรธิดา จึงทำสักการะบูชา ด้วยการถวายสิ่งของต่างๆ ด้วยความเคารพรัก เพื่อหวังให้ท่านได้ฟื้นคืนชีพขึ้นอีกครั้งหนึ่ง ทั้งๆ ที่ความเป็นจริงแล้ว ย่อมเป็นไปไม่ได้ หรือถ้าเป็นเทพเทวะ ก็หมายถึงเทวรูปอันศักดิ์สิทธิ์ ให้ลืมตาขึ้นอีกครั้งหนึ่ง ทั้งๆ ที่ความเป็นจริงแล้วย่อมเป็นไปไม่ได้ หรือถ้าเป็นเทพเทวะ ก็หมายถึงเทวรูปอันศักดิ์สิทธิ์ ให้ลืมตาขึ้นมามอง เพื่อรับเครื่องสักการะบูชา แล้วช่วยบรรเทาทุกข์บำรุงสุขให้แก่ผู้ถวายเครื่องสักการะบูชานั้น ในจารึกนี้ น่าจะหมายถึงประเด็นแรกมากกว่า |