จารึก

The Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre

จารึกเขาพระนารายณ์เมืองตะกั่วป่า

จารึก

จารึกเขาพระนารายณ์เมืองตะกั่วป่า ด้านที่ 1

QR-code edit Share on Facebook

เวลาที่โพส โพสต์เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2555 เวลา 17:18:31

ชื่อจารึก

จารึกเขาพระนารายณ์เมืองตะกั่วป่า

ชื่อจารึกแบบอื่นๆ

หลักที่ 26 ศิลาจารึกเขาพระนารายณ์เมืองตะกั่วป่า, จารึกที่ 26 จารึกที่เขาพระนารายณ์ (ตะกั่วป่า)

อักษรที่มีในจารึก

ทมิฬ

ศักราช

พุทธศตวรรษ 12

ภาษา

ทมิฬ

ด้าน/บรรทัด

จำนวนด้าน 1 ด้าน มี 6 บรรทัด

ผู้อ่าน

1) ฮูล์ช (Hultzsch) (พ.ศ. 2456)
2) ยอร์ช เซเดส์ (พ.ศ. 2472)

ผู้ปริวรรต

1) ฮูล์ช (Hultzsch) (แปลจากภาษาทมิฬเป็นภาษาอังกฤษ) (พ.ศ. 2456)
2) ยอร์ช เซเดส์ (แปลจากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย) (พ.ศ. 2472)

ผู้ตรวจ

กองหอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร (พ.ศ. 2504), (พ.ศ. 2529)

เชิงอรรถอธิบาย

1. ศ. ฮูล์ช : “. . . รวรฺมนฺ” อาจเป็นเชื้อพระวงศ์นามว่า ภาสกรวรฺมนฺ ซึ่งเป็นผู้ออกคำสั่งให้ขุดสระน้ำแห่งนี้
2. ศ. ฮูล์ช : “นงคูร” อาจเป็นชื่อภาษาทมิฬของชุมชนฮินดูโบราณที่เข้ามาตั้งถิ่นฐานใกล้เมืองตะกั่วป่า
3. ศ. เซเดส์ : “ไฑ” อาจอ่านได้ว่า “อไฑย” ซึ่งแปลว่า “อยู่ติดกับ” หรือ “อิไฑ” ซึ่งแปลว่า “(ใน)ท่ามกลางของ”
4. ศ. ฮูล์ช : “ศฺรี(อวนิ)นารณมฺ” หมายถึง “พระวิษณุผู้สถิตบนโลก” คำนี้อาจเป็นนามสกุลของภาสกรวรมัน ซึ่งพระองค์ได้นำนามสกุลมาตั้งชื่อสระน้ำแห่งนี้