จารึก

The Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre

จารึกพระอภิธรรม

จารึก

จารึกพระอภิธรรม ด้านที่ 2

QR-code edit Share on Facebook

เวลาที่โพส โพสต์เมื่อวันที่ 2 ก.ค. 2564 14:16:01

ชื่อจารึก

จารึกพระอภิธรรม

ชื่อจารึกแบบอื่นๆ

จารึกพระอภิธรรม พุทธศตวรรษที่ 20

อักษรที่มีในจารึก

ขอมสุโขทัย

ศักราช

พุทธศตวรรษ 20

ภาษา

บาลี

ด้าน/บรรทัด

จำนวนด้าน 2 ด้าน มี 57 บรรทัด ด้านที่ 1 มี 22 บรรทัด ด้านที่ 2 มี 35 บรรทัด

ผู้อ่าน

ชะเอม แก้วคล้าย (พ.ศ. 2526)

ผู้แปล

ชะเอม แก้วคล้าย (พ.ศ. 2526)

ผู้ตรวจ

กรมศิลปากร (พ.ศ. 2526)

เชิงอรรถอธิบาย

1. ชะเอม แก้วคล้าย : พระอภิธรรมปิฎก ธรรมสังคณี เป็น สญฺโญชนสมฺปยุตฺตา
2. ชะเอม แก้วคล้าย : คำว่า สญฺโญ(ชน) สมฺปยุตฺตา บรรทัดที่ 3-4 ด้านที่ 2 ในหลักศิลาจารึกเป็น สญฺโญสมฺปยุตฺตา คงจารึกตกอักษร ชน ไป
3. ชะเอม แก้วคล้าย : พระอภิธรรมปิฎก ธรรมสังคณี เป็น คนฺถา
4. ชะเอม แก้วคล้าย : พระอภิธรรมปิฎก ธรรมสังคณี เป็น คนฺถา
5. ชะเอม แก้วคล้าย : คำว่า คนฺฐา และ คณฺฐา บรรทัดที่ 5-8 คำแรกใช้ นฺ สะกดหน้า ฐ เป็นการผิดหลักภาษา แต่บทธรรมสังคณี เป็น คนฺถา ทั้งหมด
6. ชะเอม แก้วคล้าย : พระอภิธรรมปิฎก ธรรมสังคณี เป็น โยคนิยา
7. ชะเอม แก้วคล้าย : พระอภิธรรมปิฎก ธรมสังคณี ฉบับพิมพ์เป็นส่วนพระราชกุศลรัตนโกสินทรศก 112 มีส่วนที่เพิ่มมาดังนี้ “ฯลฯ ปรามาสา ปรามาสา เจว ธมฺมา ปรามาสสมฺปยุตฺตา จ ปรามาสสมฺปยุตฺตา เจว ธมฺมา โน จ ปรามาสา ปรามาสวิปฺปยุตฺตา โข ปน ธมฺมา ฯลฯ”
8. ชะเอม แก้วคล้าย : คำที่อยู่ในวงเล็บทั้งหมด เป็นคำที่คัดมาจาก บทธรรมสังคณี เพราะในศิลาจารึกชำรุดไม่สามารถอ่านได้