จารึก

The Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre

จารึกปราสาท

จารึก

จารึกปราสาท ด้านที่ 4

QR-code edit Share on Facebook

เวลาที่โพส โพสต์เมื่อวันที่ 27 มิ.ย. 2564 20:40:11

ชื่อจารึก

จารึกปราสาท

ชื่อจารึกแบบอื่นๆ

ศิลาจารึกปราสาท, สร. 4, K.1115, เลขทะเบียนโบราณวัตถุที่ 99/49/2560

อักษรที่มีในจารึก

ขอมโบราณ

ศักราช

พุทธศตวรรษ 18

ภาษา

สันสกฤต

ด้าน/บรรทัด

จำนวนด้าน 4 ด้าน มี 98 บรรทัด ด้านที่ 1 มี 24 บรรทัด ด้านที่ 2 มี 24 บรรทัด ด้านที่ 3 มี 24 บรรทัด ด้านที่ 4 มี 26 บรรทัด

ผู้อ่าน

ชะเอม แก้วคล้าย (พ.ศ. 2528), (พ.ศ. 2529)

ผู้แปล

ชะเอม แก้วคล้าย (พ.ศ. 2528), (พ.ศ. 2529)

ผู้ตรวจ

กองหอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร (พ.ศ. 2528), (พ.ศ. 2529)

เชิงอรรถอธิบาย

1. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2547) : ข้อความบรรทัดที่ 7-22 ตรงกับข้อความบรรทัดที่ 9-24 ของจารึกด่านประคำ, ตรงกับข้อความบรรทัดที่ 11-26 ของจารึกเมืองพิมาย และจารึกปราสาท
2. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2547) : ในจารึกด่านประคำ เป็น “วฺฤณฺฑา”
3. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2547) : ในจารึกด่านประคำ และจารึกเมืองพิมาย เป็น “ชนิตารฺถิ”
4. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2547) : ในจารึกปราสาทตาเมียนโตจ เป็น “เปฺรชิตวฺยา”
5. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2547) : ในจารึกด่านประคำ เป็น “การฺยฺเยะ”
6. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2547) : ในจารึกด่านประคำ เป็น “ปฺราณิ”
7. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2547) : ในจารึกด่านประคำ เป็น “กวลานุรกฺตา”
8. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2547) : ในจารึกด่านประคำ เป็น “ปฺรติษฺาม”
9. ชะเอม แก้วคล้าย : คำว่า “โมกฺษปุรํ ลเภรนฺ” แปลว่า ได้แล้วซึ่งเมืองแห่งความหลุดพ้น “โมกฺษปุรฺณา” ในจารึกปราสาทตาเมียนโตจ แปลว่า เป็นผู้สมบูรณ์ด้วย “โมกฺษะ” (ความหลุดพ้น) ในจารึกด่านประคำ และจารึกเมืองพิมาย เป็นความหมายเหมือนกัน แต่การใช้ภาษาต่างกันเท่านั้น
10. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2547) : ในจารึกเมืองพิมาย เป็น “นิตฺวา”
11. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2547) : ในจารึกด่านประคำ เป็น “จลีต”
12. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2547) : ในจารึกด่านประคำ เป็น “ศํรกฺษยา”