จารึก

The Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre

จารึกปราสาท

จารึก

จารึกปราสาท ด้านที่ 3

QR-code edit Share on Facebook

เวลาที่โพส โพสต์เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2564 เวลา 20:40:11

ชื่อจารึก

จารึกปราสาท

ชื่อจารึกแบบอื่นๆ

ศิลาจารึกปราสาท, สร. 4, K.1115, เลขทะเบียนโบราณวัตถุที่ 99/49/2560

อักษรที่มีในจารึก

ขอมโบราณ

ศักราช

พุทธศตวรรษ 18

ภาษา

สันสกฤต

ด้าน/บรรทัด

จำนวนด้าน 4 ด้าน มี 98 บรรทัด ด้านที่ 1 มี 24 บรรทัด ด้านที่ 2 มี 24 บรรทัด ด้านที่ 3 มี 24 บรรทัด ด้านที่ 4 มี 26 บรรทัด

ผู้อ่าน

ชะเอม แก้วคล้าย (พ.ศ. 2528), (พ.ศ. 2529)

ผู้แปล

ชะเอม แก้วคล้าย (พ.ศ. 2528), (พ.ศ. 2529)

ผู้ตรวจ

กองหอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร (พ.ศ. 2528), (พ.ศ. 2529)

เชิงอรรถอธิบาย

1. ชะเอม แก้วคล้าย : จารึกปราสาทตาเมียนโตจ เป็น “ศรฺษเป” จารึกเมืองพิมาย เป็น “สรฺษเปา” คงจะเป็นการบกพร่องของการจารึกอักษร ศัพท์เดิมจะเป็น “สรฺษป” เมื่อมี “รฺ” อยู่หน้า ให้ซ้อน “ษฺ” อีกตัวหนึ่งก็ได้ จึงควรเป็น “สรฺษฺษป” ในจารึกนี้ ซ้อน “ษฺ” เหมือนกัน แต่ตัวถัดไปควรจะเป็น “ษ” แทนที่จะเป็น “ป” คงบกพร่อง มิได้ใส่ขีดตัดเส้นด้านขวาของอักษรให้เป็น “ษ” นั่นเอง
2. ชะเอม แก้วคล้าย : ไม่ทราบความหมายภาษาไทย จึงขอแปลทับศัพท์ ตามรูปศัพท์
3. ชะเอม แก้วคล้าย : ไม่ทราบความหมายภาษาไทย จึงขอแปลทับศัพท์ ตามรูปศัพท์