โพสต์เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2564 เวลา 20:34:33
ชื่อจารึก |
จารึกปราสาทหินพนมรุ้ง 7 |
ชื่อจารึกแบบอื่นๆ |
Stèle de Phnom Ruŋ (K. 384), หลักที่ 120 ศิลาจารึกปราสาทพนมรุ้ง จังหวัดบุรีรัมย์, บร.1, จารึกหลักที่ 120, K.384 |
อักษรที่มีในจารึก |
ขอมโบราณ |
ศักราช |
พุทธศตวรรษ 18 |
ภาษา |
สันสกฤต |
ด้าน/บรรทัด |
จำนวนด้าน 4 ด้าน มี 76 บรรทัด ด้านที่ 1 มี 17 บรรทัด ด้านที่ 2 มี 21 บรรทัด ด้านที่ 3 มี 21 บรรทัด ด้านที่ 4 มี 17 บรรทัด |
ผู้อ่าน |
1) ยอร์ช เซเดส์ (อ่านเป็นอักษรโรมัน), (พ.ศ. 2496) |
ผู้แปล |
1) ยอร์ช เซเดส์ (แปลเป็นภาษาฝรั่งเศส), (พ.ศ. 2496) |
ผู้ตรวจ |
1) คณะกรรมการจัดพิมพ์เอกสารทางประวัติศาสตร์ สำนักนายกรัฐมนตรี (พ.ศ. 2513) |
เชิงอรรถอธิบาย |
1. ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล : หมายเหตุของผู้แปล ไม่น่าเข้าใจว่าเพราะเหตุใดศาสตราจารย์ ยอร์ช เซเดส์ จึงไม่สามารถทราบได้ว่า หิรัณยะผู้สร้างจารึกปราสาทพนมรุ้งเกี่ยวดองกับพระเจ้าสูรยวรมันที่ 2 อย่างไร จารึกบทที่ 8 กล่าวว่านางภูปตีนทรลักษมีเป็นพระราชธิดาแห่งพระเจ้าสูรยวรมันที่ 2 นางเป็นมารดาของนเรนทราทิตย์ จารึกบทที่ 27 กล่าวว่า หิรัณยผู้สร้างจารึก เป็นบุตรของ นเรนทราทิตย์ ฉะนั้น หิรัณยะก็เป็นปนัดดา (ทางย่าของตน) แต่พระเจ้าสูรยวรมันที่ 2 นั่นเอง |