จารึก

The Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre

จารึกศาลสูงภาษาเขมร (หลักที่ 1)

จารึก

จารึกศาลสูงภาษาเขมร (หลักที่ 1) ด้านที่ 1

QR-code edit Share on Facebook

เวลาที่โพส โพสต์เมื่อวันที่ 26 มิ.ย. 2564 23:36:29

ชื่อจารึก

จารึกศาลสูงภาษาเขมร (หลักที่ 1)

ชื่อจารึกแบบอื่นๆ

Lŏp’bŭri (San Sung) (K. 410), หลักที่ 19 ศิลาจารึกศาลสูงภาษาเขมร (หลักที่ 1), จารึกที่ 19 ศิลาจารึกภาษาเขมรที่ศาลสูง, ลบ. 2, K. 410

อักษรที่มีในจารึก

ขอมโบราณ

ศักราช

พุทธศักราช 1568

ภาษา

เขมร

ด้าน/บรรทัด

จำนวนด้าน 1 ด้าน มี 29 บรรทัด

ผู้อ่าน

ยอร์ช เซเดส์ (พ.ศ. 2472), (พ.ศ. 2504), (พ.ศ. 2529)

ผู้แปล

ยอร์ช เซเดส์ (พ.ศ. 2472), (พ.ศ. 2504), (พ.ศ. 2529)

ผู้ตรวจ

กองหอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร (พ.ศ. 2504), (พ.ศ. 2529)

เชิงอรรถอธิบาย

1. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2547) : ในคำอ่านของจารึกหลักนี้ ที่เผยแพร่ใน จารึกในประเทศไทย เล่ม 3 ตัวพยัญชนะ “ต” บางตัว ถูกอ่านเป็น “ด” ทั้งที่เมื่อพิจารณารูปอักษรแล้ว อักษรที่ถูกอ่านเป็น “ต” และ “ด” ไม่มีความแตกต่างแต่ประการใด ดังนั้นเพื่อไม่ให้สับสน คณะทำงานพัฒนาฐานข้อมูลฯ จึงแก้ไขคำอ่าน จากที่อ่านเป็น “ด” ให้อ่านเป็น “ต” ทั้งหมด
2. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2547) : ในคำอ่านของจารึกหลักนี้ ที่เผยแพร่ใน จารึกในประเทศไทย เล่ม 3 ตัวพยัญชนะ “ป” บางตัว ถูกอ่าน เป็น “บ” ทั้งที่เมื่อพิจารณารูปอักษรแล้ว อักษรที่ถูกอ่านเป็น “ป” และ “บ” ไม่มีความแตกต่างแต่ประการใด ดังนั้นเพื่อไม่ให้สับสน คณะทำงานพัฒนาฐานข้อมูลฯ จึงแก้ไขคำอ่าน จากที่อ่านเป็น “บ” ให้อ่านเป็น “ป” ทั้งหมด
3. ยอร์ช เซเดส์ : คำ “กำตวน” นี้ เปล่งมาจากคำมลายู “ตวน” แปลว่า “เจ้า” เหตุที่พระเจ้าสุริยวรรมันเอาคำมะลายูมาใช้ในพระบรมราชาภิธัย คือพระองค์เป็นพระราชโอรสของเจ้าผู้ครองเมืองนครศรีธรรมราชดังที่ได้อธิบายไว้ในเรื่องเมืองละโว้แล้ว