จารึก

The Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre

จารึกวัดตาพระยา

จารึก

จารึกวัดตาพระยา ด้านที่ 1

QR-code edit Share on Facebook

เวลาที่โพส โพสต์เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน 2564 เวลา 23:26:48

ชื่อจารึก

จารึกวัดตาพระยา

ชื่อจารึกแบบอื่นๆ

ศิลาจารึกภาษาขอมวัดตาพระยา, Stele de Ta Praya (K. 1152), ปจ. 9, K. 1152

อักษรที่มีในจารึก

ขอมโบราณ

ศักราช

พุทธศักราช 1520

ภาษา

เขมร

ด้าน/บรรทัด

จำนวนด้าน 2 ด้าน มี 41 บรรทัด ด้านที่ 1 มี 22 บรรทัด ด้านที่ 2 มี 19 บรรทัด

ผู้อ่าน

อำไพ คำโท (พ.ศ. 2523)

ผู้แปล

อำไพ คำโท (พ.ศ. 2523)

ผู้ตรวจ

กองหอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร (พ.ศ. 2529)

เชิงอรรถอธิบาย

1. อำไพ คำโท : “ทิศาธิกฺฤต” ที่พบในจารึกบางหลักเขียนเป็น “ทศาธิกฺฤต”
2. อำไพ คำโท : “กฺรฺยว” คงจะหมายถึงสัตว์ชนิดใดชนิดหนึ่งที่ใช้ลากสัมภาระได้ เพราะมีคำ “ขฺลาง” ซึ่งแปลว่า แรงดี หรือฝีเท้าดี อันเป็นลักษณนามของสัตว์ที่ใช้งาน
3. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2547) : คำว่า “ธูลิ” ในด้านที่ 1 บรรทัดที่ 10 อ่านเป็น “ธูลี” ในคำอ่านที่พิมพ์เผยแพร่ใน จารึกในประเทศไทย เล่ม 3 หน้า 121 แต่เมื่อพิจารณารูปแบบตัวอักษรจากสำเนาจารึกแล้ว เห็นว่ารูปสระที่อยู่ข้างบน น่าจะเป็นรูปสระอิจม เพราะมีรูปแบบเหมือนกับสระอิจมในคำอื่นๆ ในจารึกหลักเดียวกัน