จารึก

The Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre

จารึกปู่ขุนจิดขุนจอด

จารึก

จารึกปู่ขุนจิดขุนจอด ด้านที่ 2

QR-code edit Share on Facebook

เวลาที่โพส โพสต์เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2564 เวลา 15:20:34

ชื่อจารึก

จารึกปู่ขุนจิดขุนจอด

ชื่อจารึกแบบอื่นๆ

สท. 15, หลักที่ 8 ข. จารึกวัดพระมหาธาตุ, หลักที่ 45 ศิลาจารึกภาษาไทย จ.ศ. 754 (พ.ศ. 1935), ศิลาจารึกปู่ขุดจิดขุนจอด พุทธศักราช 1935

อักษรที่มีในจารึก

ไทยสุโขทัย

ศักราช

พุทธศักราช 1935

ภาษา

ไทย

ด้าน/บรรทัด

จำนวน 3 ด้าน มี 96 บรรทัด ด้านที่ 1 มี 37 บรรทัด, ด้านที่ 2 มี 40 บรรทัด และด้านที่ 3 มี 19 บรรทัด

ผู้อ่าน

ฉ่ำ ทองคำวรรณ (พ.ศ. 2500), (พ.ศ. 2508), (พ.ศ. 2526)

ผู้ปริวรรต

ฉ่ำ ทองคำวรรณ (พ.ศ. 2500), (พ.ศ. 2508), (พ.ศ. 2526)

ผู้ตรวจ

1) ฉ่ำ ทองคำวรรณ (พ.ศ. 2500), (พ.ศ. 2508), (พ.ศ. 2526)
2) คณะกรรมการจัดพิมพ์เอกสารทางประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และโบราณคดี สำนักนายกรัฐมนตรี (พ.ศ. 2508)
3) กรมศิลปากร (พ.ศ. 2526)

เชิงอรรถอธิบาย

1. ฉ่ำ ทองคำวรรณ : “อํพน” งาม
2. ฉ่ำ ทองคำวรรณ : ต่อจากคำว่า “ปกก” น่าจะเป็น “ษา ปกกษี” คือ ปักษาปักษี
3. ฉ่ำ ทองคำวรรณ : “คลวง” ชั้น
4. ฉ่ำ ทองคำวรรณ : “อ” ตัวนี้ คงจะเขียนตก ที่ถูกน่าจะเป็น “อนนซี” คือ อันชื่อ
5. ฉ่ำ ทองคำวรรณ : “ลีบ” คำนี้ น่าจะเป็น “วีป” คือ ชมพูทวีป
6. ฉ่ำ ทองคำวรรณ : น่าจะเป็น “บริภัณฑ ยุคนธร อิสิน” คือ อิสินธร