จารึก

The Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre

จารึกวัดศรีบุญเรือง (หนองคาย)

จารึก

จารึกวัดศรีบุญเรือง (หนองคาย) ด้านที่ 1

QR-code edit Share on Facebook

เวลาที่โพส โพสต์เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน 2564 เวลา 16:23:45

ชื่อจารึก

จารึกวัดศรีบุญเรือง (หนองคาย)

ชื่อจารึกแบบอื่นๆ

นค.6

อักษรที่มีในจารึก

ไทยน้อย

ศักราช

พุทธศักราช 2151

ภาษา

ไทย

ด้าน/บรรทัด

จำนวนด้าน 1 ด้าน มี 14 บรรทัด

ผู้อ่าน

1) ธวัช ปุณโณทก (พ.ศ. 2522)
2) บุญนาค สะแกนอก (พ.ศ. 2529)

ผู้ปริวรรต

1) ธวัช ปุณโณทก (พ.ศ. 2522)
2) บุญนาค สะแกนอก (พ.ศ. 2529)

ผู้ตรวจ

กองหอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร (พ.ศ. 2529)

เชิงอรรถอธิบาย

1. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : บุญนาค สะแกนอก อ่านเป็น “ฤกษ”
2. ธวัช ปุณโณทก : ศักราช 970 = จ.ศ. 970 ตรงกับ พ.ศ. 2151
3. ธวัช ปุณโณทก : วัน 6 = วันศุกร์
4. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : บุญนาค สะแกนอก อ่านเป็น “ษุภมัสดู”
5. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : บุญนาค สะแกนอก อ่านเป็น “สมเดจ”
6. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : บุญนาค สะแกนอก อ่านเป็น “บูรม”
7. ธวัช ปุณโณทก : ลายจุ้ม = พระราชศาสน์, ตราตั้ง, พระราชโองการ
8. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : บุญนาค สะแกนอก อ่านเป็น “ธรมิกราชาธิราช”
9. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : บุญนาค สะแกนอก อ่านเป็น “สมเดจ”
10. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : บุญนาค สะแกนอก อ่านเป็น “เปน”
11. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : บุญนาค สะแกนอก อ่านเป็น “ตนเปน”
12. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ตน = รูป (ลักษณนามของพระสงฆ์), องค์, พระองค์
13. ธวัช ปุณโณทก : ดวง = ลักษณะนามของ ลายจุ้ม
14. ธวัช ปุณโณทก : ข้าโอกาส = ข้าทาส ที่ถวายไว้กับวัดเพื่อปรนนิบัติพระสงฆ์
15. ธวัช ปุณโณทก : บอนหลาน = คือชื่อข้าโอกาส ว่า “บอน” กับ “หลาน”
16. ธวัช ปุณโณทก : เหมือนลูก = คือชื่อข้าโอกาส ว่า “เหมือน” กับ “ลูก”
17. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : บุญนาค สะแกนอก อ่านเป็น “พรองคั”
18. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : บุญนาค สะแกนอก อ่านเป็น “บตืม”
19. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : บุญนาค สะแกนอก อ่านเป็น “เขต”
20. ธวัช ปุณโณทก : บ่ริด บ่มล้าง = ไม่ตัดออก, ไม่ทำลาย
21. ธวัช ปุณโณทก : บ่ตืม = ไม่เติม
22. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : บุญนาค สะแกนอก อ่านเป็น “ได”
23. ธวัช ปุณโณทก : ค่าร่องอก = เป็นมาตราวัดระยะสมัยโบราณของอีสาน มีค่าเท่ากับปลายนิ้วมือถึงกลางหน้าอก
24. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : เมือ = ไป, กลับ
25. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : บุญนาค สะแกนอก อ่านเป็น “แด”
26. ธวัช ปุณโณทก : ค่าแขน = เป็นมาตราวัดระยะของทางอีสาน มีค่าเท่ากับ ปลายนิ้วถึงโคนแขน
27. ธวัช ปุณโณทก : เมือนา = คือความยาวไปทางด้านทุ่งนา
28. ธวัช ปุณโณทก : มาท่า = คือความยาวไปทางด้านท่าน้ำ
29. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : บุญนาค สะแกนอก อ่านเป็น “นึง”
30. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : บุญนาค สะแกนอก อ่านเป็น “สม”
31. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : บุญนาค สะแกนอก อ่านเป็น “มิ”
32. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : บุญนาค สะแกนอก อ่านเป็น “กํ”
33. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : บุญนาค สะแกนอก อ่านเป็น “อุ”
34. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ฝูง = พวก, หมู่
35. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : บุญนาค สะแกนอก อ่านเป็น “หมืน”
36. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : บุญนาค สะแกนอก อ่านเป็น “เมิอง”
37. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : บุญนาค สะแกนอก อ่านเป็น “ถก”
38. ธวัช ปุณโณทก : คุงนูประสาท = สำเร็จด้วยดี, สำนวนลงท้ายพระราชโองการ, แต่โดยทั่วไปจะใช้คำว่า “คุนูปรสิทธิ์” หรือ “คุงนูประสิทธิ์” มากกว่า