จารึก

The Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre

จารึกวัดแดนเมือง 2 (จารึกวัดปัจจันตบุรี)

จารึก

จารึกวัดแดนเมือง 2 (จารึกวัดปัจจันตบุรี) ด้านที่ 1

QR-code edit Share on Facebook

เวลาที่โพส โพสต์เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2555 เวลา 17:18:22

ชื่อจารึก

จารึกวัดแดนเมือง 2 (จารึกวัดปัจจันตบุรี)

ชื่อจารึกแบบอื่นๆ

นค. 2, ศิลาจารึก ซึ่งได้มาจากวัดแดนเมือง อ. โพนพิสัย จ. หนองคาย อักษรไทย ภาษาไทย สมัยอยุธยา, หลักที่ 88 ศิลาจารึกวัดแดนเมือง, ศิลาจารึกวัดแดนเมือง ด. 2, จารึกวัดแดนเมือง 2

อักษรที่มีในจารึก

ไทยน้อย

ศักราช

พุทธศักราช 2078

ภาษา

ไทย

ด้าน/บรรทัด

จำนวนด้าน 1 ด้าน มี 28 บรรทัด

ผู้อ่าน

1) ประสาร บุญประคอง (พ.ศ. 2506)
2) ธวัช ปุณโณทก (พ.ศ. 2530)

ผู้ปริวรรต

1) ประสาร บุญประคอง (พ.ศ. 2506)
2) ธวัช ปุณโณทก (พ.ศ. 2530)

ผู้ตรวจ

1) ประเสริฐ ณ นคร (พ.ศ. 2506)
2) กองหอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร (พ.ศ. 2529)

เชิงอรรถอธิบาย

1. ธวัช ปุณโณทก : 897 = จุลศักราช 897 ตรงกับ พ.ศ. 2078
2. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก อ่านเป็น “ภทรมาส”
3. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ประสาร บุญประคอง อ่านเป็น “27”
4. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก อ่านเป็น “สฺรเดดจะ”
5. ธวัช ปุณโณทก : 26 ค่ำ = คือการนับวันตามดิถี ซึ่งเดือนหนึ่งมี 29 ดิถี ฉะนั้น 26 ค่ำ ตรงกับแรม 11 ค่ำ
6. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก อ่านเป็น “บพิตฺร”
7. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก อ่านเป็น “โพทฺธิสาละ”
8. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ตน = รูป (ลักษณนามของพระสงฆ์), องค์, พระองค์
9. ธวัช ปุณโณทก : อาจุละ = ไม่หวั่นไหว
10. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก อ่านเป็น “สรรททฺธา”
11. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก อ่านเป็น “พุททฺธสาสนา”
12. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก อ่านเป็น “ชุม”
13. ธวัช ปุณโณทก : ชุม = หมู่, พวก, เหล่า
14. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก อ่านเป็น “แสนสุรินทราชัย”
15. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก อ่านเป็น “เสนาทฺธิบดี”
16. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก อ่านเป็น “ราชะทฺธานี”
17. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก อ่านเป็น “เพิอ”
18. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก อ่านเป็น “ให”
19. ธวัช ปุณโณทก : ขัด = คือ การทำนุบำรุง ในที่นี้ หมายถึง การทำนุบำรุงพุทธศาสนา
20. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก อ่านเป็น “พระพูดทฺธเจา”
21. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก อ่านเป็น “ใหรูงเริง”
22. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก อ่านเป็น “จิง”
23. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ประสาร บุญประคอง ปริวรรตเป็น “รุงเริง”
24. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก ปริวรรตเป็น “เมือ” = ไป (เมือหน้า – ไปข้างหน้า, ภายภาคหน้า)
25. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก อ่านเป็น “ชึ”
26. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก อ่านเป็น “นันทกูมาร”
27. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก อ่านเป็น “ใน”
28. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก อ่านเป็น “ใน”
29. ธวัช ปุณโณทก : ชำนิ = สะสาง, ทำความสะอาด
30. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก ปริวรรตเป็น “พระวิหาร”
31. ธวัช ปุณโณทก : จันทบุรี = คือ เมืองเวียงจันทน์
32. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก อ่านเป็น “ปราทฺธาน”
33. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก อ่านเป็น “พาม”
34. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก อ่านเป็น “ให”
35. ธวัช ปุณโณทก : สรมูด = สมมุติ
36. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก อ่านเป็น “ให”
37. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก อ่านเป็น “ใด”
38. ธวัช ปุณโณทก : สิกขากาม = ใคร่ศึกษาร่ำเรียน, ผู้ที่ใคร่ศึกษาในธรรม
39. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ฝูง = พวก, หมู่
40. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก อ่านเป็น “สกั” และปริวรรตเป็น “สัก” หมายถึง การสักหน้าให้สึกออกจากการเป็นสงฆ์
41. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก อ่านเป็น “ให”
42. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก ปริวรรตเป็น “ศึก”
43. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ประสาร บุญประคอง อ่านเป็น “ขย”
44. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก อ่านเป็น “มูย”
45. ธวัช ปุณโณทก : ข่อย, ข้อย = ข้ารับใช้, ข้าพระ, ข้าโอกาส
46. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก อ่านเป็น “จัน” และปริวรรตเป็น “จันทร์”
47. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ประสาร บุญประคอง อ่านเป็น “ยาด”
48. ธวัช ปุณโณทก : หยาดน้ำ, ยาดน้ำ = หลั่งน้ำอุทิศ, การอุทิศโดยการหลั่งน้ำลงพื้นดิน
49. ธวัช ปุณโณทก : ไผ = ใคร, ผู้ใด
50. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก อ่านเป็น “ไผ”
51. ธวัช ปุณโณทก : เวียกบ้านเวียกเมือง = งานบ้านงานเมือง (เวียก – งาน, การเกณฑ์แรงงาน)
52. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ประสาร บุญประคอง อ่านเป็น “ยา”
53. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก อ่านเป็น “มี”
54. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก อ่านเป็น “ใน”
55. ธวัช ปุณโณทก : เยด = น่าจะเป็น เฮ็ด ซึ่งแปลว่า ทำ
56. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก อ่านเป็น “ให”
57. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก อ่านเป็น “ให”
58. ธวัช ปุณโณทก : เถิง = ถึง
59. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก อ่านเป็น “สังการ” และปริวรรตเป็น “สังฆการ”
60. ธวัช ปุณโณทก : พรง = ตัด, เก็บ, ละวาง, ในภาษาโบราณภาคกลางเรียก การเก็บผลไม้ที่เป็นทะลายว่า “ปลง” เช่น ปลงหมาก, ปลงมะพร้าว
61. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ประสาร บุญประคอง อ่านเป็น “รย”
62. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ประสาร บุญประคอง อ่านเป็น “รย”
63. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ประสาร บุญประคอง ปริวรรตเป็น “รย”
64. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ประสาร บุญประคอง ปริวรรตเป็น “รย”
65. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก อ่านเป็น “ไวกั (บ) สังคะ” และปริวรรตเป็น “ไว้กับสังฆะ”
66. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก อ่านเป็น “ใด”
67. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก ปริวรรตเป็น “ท้าวพระยา”
68. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก อ่านเป็น “คำสอน”
69. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก อ่านเป็น “พฺระพุดทฺธเจา”
70. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก อ่านเป็น “นี”
71. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก อ่านเป็น “พฺระพุดทฺธเจา”
72. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก อ่านเป็น “ลวงดับ” และปริวรรตเป็น “ล่วงดับ”