จารึก

The Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre

จารึกวัดแดนเมือง 1 (จารึกวัดปัจจันตบุรี)

จารึก

จารึกวัดแดนเมือง 1 (จารึกวัดปัจจันตบุรี) ด้านที่ 1

QR-code edit Share on Facebook

เวลาที่โพส โพสต์เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2555 เวลา 17:18:22

ชื่อจารึก

จารึกวัดแดนเมือง 1 (จารึกวัดปัจจันตบุรี)

ชื่อจารึกแบบอื่นๆ

นค. 1, ศิลาจารึกวัดแดนเมือง, ศิลาจารึกวัดแดนเมือง ด. 1, ศิลาจารึกวัดแดนเมือง 1

อักษรที่มีในจารึก

ไทยน้อย

ศักราช

พุทธศักราช 2073

ภาษา

ไทย

ด้าน/บรรทัด

จำนวนด้าน 2 ด้าน มี 34 บรรทัด ด้านที่ 1 มี 20 บรรทัด ด้านที่ 2 มี 14 บรรทัด

ผู้อ่าน

1) ธวัช ปุณโณทก (พ.ศ. 2522)
2) เทิม มีเต็ม และบุญนาค สะแกนอก (พ.ศ. 2528)

ผู้ปริวรรต

1) ธวัช ปุณโณทก (พ.ศ. 2522)
2) เทิม มีเต็ม และบุญนาค สะแกนอก (พ.ศ. 2528)

ผู้ตรวจ

1) ประเสริฐ ณ นคร (พ.ศ. 2522)
2) กองหอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร (พ.ศ. 2529)

เชิงอรรถอธิบาย

1. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก กำหนดให้ตัวเลขนี้เป็นบรรทัดที่ 1
2. ธวัช ปุณโณทก : 892 = จุลศักราช ตรงกับ พ.ศ. 2073
3. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก ปริวรรตเป็น “ปลูก”
4. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก อ่านเป็น “สปิ”
5. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ปีกดยี, ปีกดยี่ = ชื่อปีไทยแบบโบราณ ตรงกับปีขาล โทศก ตามจุลศักราช
6. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ออก = ขึ้น, ข้างขึ้น
7. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก อ่านและปริวรรตเป็น “รับมด” = เป็นชื่อวันของไทยแบบหนึ่ง ใช้ในอีสาน ออกเสียงว่า ฮับมด ภาคเหนือออกเสียงว่า ดับเม็ด
8. ธวัช ปุณโณทก : สายยา = ฉายา หมายถึง เงา เป็นมาตราในการดูฤกษ์ยาม
9. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก อ่านเป็น “คํ”
10. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก อ่านเป็น “ก”
11. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก อ่านเป็น “ผู”
12. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก ปริวรรตเป็น “แต่คอซากมาใต้”
13. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก อ่านเป็น “หฺนัน” และปริวรรตเป็น “นั้น”
14. ธวัช ปุณโณทก : ดาย = แล้ว, ที่สุด
15. ธวัช ปุณโณทก : จ่าวัด = เป็นตำแหน่งผู้ดูแลวัด ซึ่งกษัตริย์ได้แต่งตั้งใว้สำหรับอุปถากพระภิกษุในวัด
16. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก ปริวรรตเป็น “พระยานคร”
17. ธวัช ปุณโณทก : เจ้าปาก = เจ้าเมืองปากห้วยหลวง
18. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก อ่านเป็น “นิง”
19. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก ปริวรรตเป็น “กว้านหลวง” = เป็นตำแหน่งหัวหน้าหมู่บ้าน
20. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก อ่านเป็น “นิง”
21. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก อ่านเป็น “นิง”
22. ธวัช ปุณโณทก : แสนเข้า, แสนข้าว = เป็นตำแหน่งข้าราชการผู้ใหญ่ที่มีหน้าที่ดูแล เก็บข้าวส่งหลวง
23. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : เถ้าเมือง = ชื่อตำแหน่ง
24. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก อ่านเป็น “ไห”
25. ธวัช ปุณโณทก : เมือ = ไป, กลับไป
26. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก อ่านและปริวรรตเป็น “เอาคนมาจาก”
27. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก อ่านเป็น “แต (หว) ยแดน” และปริวรรตเป็น “แต่ (ห้ว) ยแดน”
28. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ส่วนที่ ธวัช ปุณโณทก อ่าน มีเพิ่มอีก 2 บรรทัด คือ
(21) (เมิ)งเปนอาวงแ(ต)แคมน
(22) ำสบหลวง . . . . ซาย
ปริวรรตเป็น
(21) (เมือ)งเป็นอาวง (อาวง = บริเวณ) แ(ต่)แคมน -
(22) - ํ้าสบหลวง (สบหลวง = บริเวณที่ปากน้ำมาพบกัน เรียกว่า สบ) . . . . ซ้าย