จารึก

The Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre

จารึกวัดพวกชอด (เชียงราย)

จารึก

จารึกวัดพวกชอด (เชียงราย) ด้านที่ 1

QR-code edit Share on Facebook

เวลาที่โพส โพสต์เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2563 เวลา 11:58:39

ชื่อจารึก

จารึกวัดพวกชอด (เชียงราย)

ชื่อจารึกแบบอื่นๆ

ชม. 9, 1.2.1.1 วัดพวกชอด พ.ศ. 2034, ชม. 9 จารึกวัดพวกชอด (เชียงราย) (พ.ศ. 2034)

อักษรที่มีในจารึก

ฝักขาม

ศักราช

พุทธศักราช 2034

ภาษา

ไทย

ด้าน/บรรทัด

จำนวน 1 ด้าน มี 7 บรรทัด

ผู้อ่าน

โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา (พ.ศ. 2551)

ผู้ปริวรรต

โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา (พ.ศ. 2551)

ผู้ตรวจ

โครงการวิจัย : การปริวรรตและชำระจารึกล้านนา(พ.ศ. 2551)

เชิงอรรถอธิบาย

1. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2557) : ฮันส์ เพนธ์ (2543) อ่านเป็น “ปีรวงไค”
2. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2557) : ฮันส์ เพนธ์ (2543) อ่านเป็น “ฅำนิง”
3. โครงการวิจัยฯ (2551) : “ปีรวงไก๊, ปีรวงไค้” ชื่อปีไทยแบบโบราณ ตรงกับปีกุน ตรีศก ตามจุลศักราช
4. โครงการวิจัยฯ (2551) : “เดินยี่, เดือนยี่” คือ เดือนยี่ของภาคเหนือ ตรงกับเดือน 12 ของภาคกลาง
5. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2557) : ฮันส์ เพนธ์ (2543) อ่านเป็น “วดั”
6. โครงการวิจัยฯ (2551) : “วันกาบสี” ชื่อวันไทยแบบโบราณ รอบหนึ่งมี 60 วัน
7. โครงการวิจัยฯ (2551) : “หื้อ” คือ ให้
8. โครงการวิจัยฯ (2551) : “พอย” ในที่นี้ หมายถึง เลย, กลับ, พลอย, จึง
9. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2557) : ฮันส์ เพนธ์ (2543) อ่านเป็น “มะ[ทูทิน]”
10. โครงการวิจัยฯ (2551) : “ชู่” คือ ทุก
11. โครงการวิจัยฯ (2551) : “จาริก, จาริด” คือ จารึก (ศิลาจารึก)
12. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2557) : ฮันส์ เพนธ์ (2543) อ่านเป็น “[มี]ไผวารื”