จารึก

The Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre

จารึกหริปุญชปุรี

จารึก

จารึกหริปุญชปุรี ด้านที่ 2

QR-code edit Share on Facebook

เวลาที่โพส โพสต์เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2555 เวลา 17:18:16

ชื่อจารึก

จารึกหริปุญชปุรี

ชื่อจารึกแบบอื่นๆ

ลพ. 15, ลพ./15, พช. 21, 327, หลักที่ 71 ศิลาจารึกวัดพระธาตุ มุมตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดลำพูน

อักษรที่มีในจารึก

ฝักขาม

ศักราช

พุทธศักราช 2043

ภาษา

ไทย

ด้าน/บรรทัด

จำนวนด้าน 2 ด้าน มี 51 บรรทัด ด้านที่ 1 มี 32 บรรทัด ด้านที่ 2 มี 19 บรรทัด

ผู้อ่าน

ฉ่ำ ทองคำวรรณ (พ.ศ. 2508)

ผู้ปริวรรต

ฉ่ำ ทองคำวรรณ (พ.ศ. 2508)

ผู้ตรวจ

คณะกรรมการจัดพิมพ์เอกสารทางประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และโบราณคดี สำนักนายกรัฐมนตรี (พ.ศ. 2508)

เชิงอรรถอธิบาย

1. ฉ่ำ ทองคำวรรณ : ไพ = ไป
2. ฉ่ำ ทองคำวรรณ : กลั้วเกล้า = คลุกคลี หรือ
3. ฉ่ำ ทองคำวรรณ : เวียก = งาน หรือการงานต่างๆ
4. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : จุง, จุ่ง = จง, จึง
5. ฉ่ำ ทองคำวรรณ : อดุลยบุญญาภิสนท์ = ผลบุญอันชั่งไม่ได้
6. ฉ่ำ ทองคำวรรณ : เท่าวัน = ทุกวัน
7. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ฝูง = พวก, หมู่
8. ฉ่ำ ทองคำวรรณ : อัชฌัตติก = ภายใน
9. ฉ่ำ ทองคำวรรณ : พาหิร = ภายนอก
10. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : บริบวรณ์ = บริบูรณ์
11. ฉ่ำ ทองคำวรรณ : เฉียวฉลาด = เฉลียวฉลาด
12. ฉ่ำ ทองคำวรรณ : ถอง = เถิง คือ ถึง
13. ฉ่ำ ทองคำวรรณ : โกฐาส = ส่วน
14. ฉ่ำ ทองคำวรรณ : ช่อย = ช่วย