จารึก

The Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre

จารึกป่ามะตับเต่า

จารึก

จารึกป่ามะตับเต่า ด้านที่ 1

QR-code edit Share on Facebook

เวลาที่โพส โพสต์เมื่อวันที่ 17 ก.พ. 2555 17:18:15

ชื่อจารึก

จารึกป่ามะตับเต่า

ชื่อจารึกแบบอื่นๆ

ศิลาจารึกป่ามะตับเต่า จังหวัดลำพูน, หลักที่ 81 ศิลาจารึกป่ามะตับเต่า จังหวัดลำพูน, ลพ. 45

อักษรที่มีในจารึก

ฝักขาม

ศักราช

ไม่ปรากฏศักราช

ภาษา

ไทย

ด้าน/บรรทัด

จำนวนด้าน 1 ด้าน มี 14 บรรทัด

ผู้อ่าน

ฉ่ำ ทองคำวรรณ (พ.ศ. 2501)

ผู้ปริวรรต

ฉ่ำ ทองคำวรรณ (พ.ศ. 2501)

ผู้ตรวจ

คณะกรรมการจัดพิมพ์เอกสารทางประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และโบราณคดี สำนักนายกรัฐมนตรี (พ.ศ. 2508)

เชิงอรรถอธิบาย

1. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : เถิง = ถึง
2. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ฉ่ำ ทองคำวรรณ อ่านเป็น “สย” แต่คณะทำงานพัฒนาฐานข้อมูลฯ ได้ทำการแก้ไขคำอ่านดังกล่าวให้สอดคล้องกับตัวเขียน เนื่องจากพิจารณาแล้วเห็นว่าอักษรตัวหลังเป็นตัว “อย” ชัดเจน คำนี้จึงน่าจะอ่านเป็น “สอย” ซึ่งสามารถปริวรรตได้เป็น “สอย” หรือ “สร้อย” นั่นเอง
3. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ฉ่ำ ทองคำวรรณ อ่านเป็น “ยู” แต่คณะทำงานพัฒนาฐานข้อมูลฯ ได้ทำการแก้ไขคำอ่านดังกล่าวให้สอดคล้องกับตัวเขียน เนื่องจากพิจารณาแล้วเห็นว่าอักษรตัวนี้เป็นตัว “อย” ชัดเจน คำนี้จึงน่าจะอ่านเป็น “อยู” ซึ่งสามารถปริวรรตได้เป็น “อยู่” นั่นเอง
4. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : อ้าย = ลูกชายคนที่หนึ่ง, พี่ชายคนโต
5. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ฉ่ำ ทองคำวรรณ อ่านเป็น “สย” แต่คณะทำงานพัฒนาฐานข้อมูลฯ ได้ทำการแก้ไขคำอ่านดังกล่าวให้สอดคล้องกับตัวเขียน เนื่องจากพิจารณาแล้วเห็นว่าอักษรตัวหลังเป็นตัว “อย” ชัดเจน คำนี้จึงน่าจะอ่านเป็น “สอย” ซึ่งสามารถปริวรรตได้เป็น “สอย” หรือ “สร้อย” นั่นเอง
6. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ฉ่ำ ทองคำวรรณ อ่านเป็น “สย” แต่คณะทำงานพัฒนาฐานข้อมูลฯ ได้ทำการแก้ไขคำอ่านดังกล่าวให้สอดคล้องกับตัวเขียน เนื่องจากพิจารณาแล้วเห็นว่าอักษรตัวหลังเป็นตัว “อย” ชัดเจน คำนี้จึงน่าจะอ่านเป็น “สอย” ซึ่งสามารถปริวรรตได้เป็น “สอย” หรือ “สร้อย” นั่นเอง
7. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ฉ่ำ ทองคำวรรณ อ่านเป็น “ยู” แต่คณะทำงานพัฒนาฐานข้อมูลฯ ได้ทำการแก้ไขคำอ่านดังกล่าวให้สอดคล้องกับตัวเขียน เนื่องจากพิจารณาแล้วเห็นว่าอักษรตัวนี้เป็นตัว “อย” ชัดเจน คำนี้จึงน่าจะอ่านเป็น “อยู” ซึ่งสามารถปริวรรตได้เป็น “อยู่” นั่นเอง