ตัวอย่าง | ปรากฏใน | ด/บ | จังหวัด | ผู้ให้ความหมาย |
---|---|---|---|---|
วฺระ ขญุํ วฺระ ใตสุภากูตฺ นุ กฺวนฺ เจาวฺ ใตกนฺลางฺ นุ กฺวนฺ เจาวฺ ใตธรฺมฺม นุ กฺวนฺน ถมุรฺ กฺรปิ วฺวํ ชา ปิ สุตนฺตร ต โขฺลญฺ วิษย โขฺลญฺ สฺรู โขฺลญฺ ปรฺยฺยงฺ ต มุข คาปฺ (พระ ข้า (ทาส) พระ คือ ไตศุภากูต และลูกหลาน ไตกันลาง และลูกหลาน ไตธรรมะ และลูก โค กระบือ ไม่ควรขึ้นแก่โขลญวิษัย (โขลญจังหวัด) โขลญสรู (โขลญข้าว) และขโลญบรรยงก์(บัลลังก์)หน้าเหมาะ) |
จารึกบ้านพังพวย | 1/18 | สระแก้ว | พจนานุกรม เขมร - ไทย ฉบับทุนพระยาอนุมานราชธน |
วฺราหฺมณ โนะ ปรฺยฺยนฺ วฺระ วินาศิข . นโยตฺตร. สมฺโมห . ศิรศฺเฉท . สฺยงฺ มนฺ สฺวตฺ ต มุข จูญฺ . ปิ สรฺสิรฺ ปิ ปรฺยฺยานฺ เสฺตงฺ อญฺ ศิวไกวลฺย นุ คิ . เปฺร เสฺตงฺ อญฺ ศิวไกวลฺย คิ ต เถฺว วิธิ นา กมฺรเตงฺ ชคตฺ ต ราชา . (ทั้งได้สอนคัมภีร์พระวินาศิขะ นโยตตระ สัมโมหะ และศิรัจเฉทะ โดยท่องตั้งแต่ต้นจนจบ เพื่อให้จดบันทึกไว้ แล้วสอนแก่ศิวไกวัลยะ พร้อมทั้งได้แนะนำให้ศิวไกวัลยะประกอบพิธีเทวราช) |
จารึกสด๊กก๊อกธม 2 | 3/74 | สระแก้ว | พจนานุกรมไทย ฉบับเปลื้อง ณ นคร |
ต กํเสฺตงฺ โขฺลญฺ มุข ปฺรติปกฺษ นุ ปงฺคปฺ วฺระ กํมฺรเตงฺ อญฺ วฺยา ปาร ปิ สงฺ โคลฺ ปิ เถฺว จํณำ กลฺปณา สงฺกฺรานฺต ต คิ กํมฺรเต(งฺ) ชคตฺ ศฺรีวฺฤทฺเธศฺวร (แก่กำเสตงโขลญมุขประติปักษ์ และได้แนะนำพระกัมรเตงอัญพยาบาร เพื่อปักหลักเขต และทำการถวายเจาะจงสงกรานต์ในกัมรเตงชคต ศรีพฤทเธศวร ) |
จารึกวัดสระกำแพงใหญ่ | 1/7 | ศรีสะเกษ | พจนานุกรม เขมร - ไทย ฉบับทุนพระยาอนุมานราชธน |
โขฺลญฺ มุข ตมฺรฺวจฺ วล ฉฺมำ วฺระ ปาญฺชี . ตฺรฺวจฺ มาสฺ ปฺรากฺ เปกฺ จำ ผฺชุะ จำ คฺลางฺ (หัวหน้าผู้ตรวจตราประชาชน ผู้รักษาพระบัญชี ซึ่งควบคุมทองและเงินและตรวจตราผชุ และฉางข้าว) |
จารึกปราสาทหินพนมวัน 3 | 1/20 | นครราชสีมา | พจนานุกรมไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 |