จารึก

The Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre

จารึกกฎหมายลักษณะโจร

จารึก

จารึกกฎหมายลักษณะโจร ด้านที่ 2

QR-code edit Share on Facebook

เวลาที่โพส โพสต์เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2564 เวลา 18:03:24

ชื่อจารึก

จารึกกฎหมายลักษณะโจร

ชื่อจารึกแบบอื่นๆ

จารึกวัดพระมหาธาตุ วัดสระศรี (หลักที่ 7 ก.), หลักที่ 38 ศิลาจารึกกฎหมายลักษณะโจร, ศิลาจารึกกฎหมายลักษณะโจร พุทธศตวรรษที่ 19-20, สท. 17

อักษรที่มีในจารึก

ไทยสุโขทัย

ศักราช

พุทธศตวรรษ 19-20

ภาษา

ไทย

ด้าน/บรรทัด

จำนวนด้าน 2 ด้าน ด้านที่ 1 มี 45 บรรทัด ด้านที่ 2 มี 54 บรรทัด

ผู้อ่าน

ฉ่ำ ทองคำวรรณ (พ.ศ. 2508), (พ.ศ. 2526)

ผู้ปริวรรต

ฉ่ำ ทองคำวรรณ (พ.ศ. 2508), (พ.ศ. 2526)

ผู้ตรวจ

1) คณะกรรมการจัดพิมพ์เอกสารทางประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และโบราณคดี สำนักนายกรัฐมนตรี (พ.ศ. 2508)
2) กรมศิลปากร (พ.ศ. 2526)

เชิงอรรถอธิบาย

1. ฉ่ำ ทองคำวรรณ : ช่อย ช่วย
2. ฉ่ำ ทองคำวรรณ : อุเบกษา วางใจเฉยอยู่
3. ฉ่ำ ทองคำวรรณ : ตวง แปลว่า นับ, อยู่ตวง ใช้ในความหมายว่า อยู่ร่วม อยู่ด้วย หรืออยู่เป็นพวกเดียวกัน
4. ฉ่ำ ทองคำวรรณ : วัวมอ หมายเอาวัวที่ใช้งานได้ทั่วไป, ปอฟั่น หมายเอาปอที่ฟั่นเป็นเชือกทั่วไป
5. ฉ่ำ ทองคำวรรณ : ริมวัน เกือบทั้งวัน
6. ฉ่ำ ทองคำวรรณ : อำลัก ลักโดยวิธีปิดบัง
7. ฉ่ำ ทองคำวรรณ : ก็ยั้งบ้าน ก็อยู่บ้าน
8. ฉ่ำ ทองคำวรรณ : ลักเลียม แอบลัก
9. ฉ่ำ ทองคำวรรณ : ประดา บรรดา
10. ฉ่ำ ทองคำวรรณ : ย หรือ เยียะ แปลว่า ทำ ในที่นี่ใช้ ในความหมายว่า แต่ง หรือ จัด
11. ฉ่ำ ทองคำวรรณ : ราวีพีราม ใช้ในความหมายว่า รบกวน, เบียดเบียน
12. ฉ่ำ ทองคำวรรณ : บาดไหม ปรับ