จารึก

The Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre

จารึกโคลงภาพคนต่างภาษา แผ่นที่ 24 (ภาพพราหมณ์รามเหศร์)

จารึก

จารึกโคลงภาพคนต่างภาษา แผ่นที่ 24 (ภาพพราหมณ์รามเหศร์) ด้านที่ 1

QR-code edit Share on Facebook

เวลาที่โพส โพสต์เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม 2563 เวลา 13:24:24

ชื่อจารึก

จารึกโคลงภาพคนต่างภาษา แผ่นที่ 24 (ภาพพราหมณ์รามเหศร์)

อักษรที่มีในจารึก

ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์

ศักราช

ไม่ปรากฏศักราช

ภาษา

ไทย

ด้าน/บรรทัด

จำนวน 1 ด้าน (ไม่ทราบจำนวนบรรทัด)

ผู้อ่าน

ไม่ปรากฏข้อมูลผู้อ่าน

เชิงอรรถอธิบาย

1. พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร : “รามเหศร์” กาญจนาคพันธุ์ สันนิษฐานไว้ในหนังสือ ภูมิศาสตร์วัดโพธิ์ เล่ม 3 ว่า ในที่นี้น่าจะหมายถึงพราหมณ์ที่อาศัยอยู่ในประเทศไทยโดยเป็นพราหมณ์ที่มาจากเมืองราเมศหรือราเมศวรัมในอินเดียใต้ นอกจากนี้ยังระบุว่าในเอกสารอื่นๆ ยังปรากฏชื่อพราหมณ์ที่ใกล้เคียงกับพราหมณ์รามเหศร์นี้อีกหลายแห่ง เช่น ตำรับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ กล่าวถึง “เวรามเหศร์”, ตำนานพราหมณ์เมืองนครศรีธรรมราช กล่าวถึง “รัมเหด” และ “วิรำมเหด” และที่สำคัญคือ ในสุบินกลอนสวด ซึ่งกล่าวถึง “พราหมณ์รามเหตุ” ซึ่งมีความใกล้เคียงกับที่ปรากฏในจารึกนี้มากที่สุด
2. พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร : “ยัชชุเวท” หรือ ยชุรเวท เป็นหนึ่งในคัมภีร์ไตรเพทของศาสนาพราหมณ์ซึ่งประกอบด้วย ฤคเวท ยชุรเวท และสามเวท