จารึก

The Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre

จารึกโคลงภาพคนต่างภาษา แผ่นที่ 19 (ภาพเงี้ยว)

จารึก

จารึกโคลงภาพคนต่างภาษา แผ่นที่ 19 (ภาพเงี้ยว) ด้านที่ 1

QR-code edit Share on Facebook

เวลาที่โพส โพสต์เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม 2563 เวลา 13:20:41

ชื่อจารึก

จารึกโคลงภาพคนต่างภาษา แผ่นที่ 19 (ภาพเงี้ยว)

อักษรที่มีในจารึก

ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์

ศักราช

ไม่ปรากฏศักราช

ภาษา

ไทย

ด้าน/บรรทัด

จำนวน 1 ด้าน (ไม่ทราบจำนวนบรรทัด)

ผู้อ่าน

ไม่ปรากฏข้อมูลผู้อ่าน

เชิงอรรถอธิบาย

1. พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร : “แสนหวี” เป็นเมืองใหญ่ที่ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของมัณฑะเลย์ทางตอนเหนือของพม่า มีอาณาเขตยาวลงมาจนเกือบถึงเชียงตุง
2. พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร : “เชียงรุ้ง” หรือ เชียงรุ่ง เป็นชื่อเมืองที่ตั้งอยู่ในดินแดนสิบสองปันนาทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศจีน
3. พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร : “มวยมุ่นรัตพัสตรทับ โพกเกศ” กาญจนาคพันธุ์ อธิบายไว้ในหนังสือ ภูมิศาสตร์วัดโพธิ์ เล่ม 2 ว่า หมายถึงการเกล้ามวยหรือเกล้าผมสูงแล้วโพกผ้าทับ นอกจากนี้ยังระบุว่าผ้าโพกของเงี้ยวที่อยู่ทางตอนเหนือใกล้กับประเทศจีนมักเป็นสีขาว ส่วนเงี้ยวทางตอนใต้มักใช้ผ้าสีต่างๆ กัน
4. พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร : “เงี้ยว” เป็นชนชาติที่จัดอยู่ในกลุ่ม “ไต” (Tai) มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “ไทยใหญ่” พม่าเรียกว่า “ชาน” หรือ “ฉาน”