จารึก

The Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre

จารึกโคลงภาพคนต่างภาษา แผ่นที่ 16 (ภาพหรูช (ตาตา))

จารึก

จารึกโคลงภาพคนต่างภาษา แผ่นที่ 16 (ภาพหรูช (ตาตา)) ด้านที่ 1

QR-code edit Share on Facebook

เวลาที่โพส โพสต์เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม 2563 เวลา 13:19:11

ชื่อจารึก

จารึกโคลงภาพคนต่างภาษา แผ่นที่ 16 (ภาพหรูช (ตาตา))

อักษรที่มีในจารึก

ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์

ศักราช

ไม่ปรากฏศักราช

ภาษา

ไทย

ด้าน/บรรทัด

จำนวน 1 ด้าน (ไม่ทราบจำนวนบรรทัด)

ผู้อ่าน

ไม่ปรากฏข้อมูลผู้อ่าน

เชิงอรรถอธิบาย

1. พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร : “หรูช” กาญจนาคพันธุ์ อธิบายไว้ในหนังสือ ภูมิศาสตร์วัดโพธิ์ เล่ม 2 ว่า “หรูช” ตรงกับคำว่า “Rus” ซึ่งเป็นชื่อเรียกพวกไวกิงค์จากสแกนดิเนเวียที่เดินทางเข้าไปอาศัยอยู่ในดินแดนซึ่งเป็นประเทศรัสเซียในเวลาต่อมา อย่างไรก็ตาม “หรูช” กลุ่มนี้ไม่ใช่กลุ่มเดียวกับไวกิงค์ดังกล่าว แต่เป็นพวกตาตา (Tatar) ซึ่งคนไทยรู้จักในชื่อ “ตาต” อาศัยอยู่ในประเทศรัสเซียส่วนที่เป็นทวีปเอเชียซึ่งก็คือมองโกเลีย เป็นกลุ่มชนเร่ร่อน นิยมตั้งกระโจมอยู่ในทะเลทราย ต่างจาก “หรูช” ใน “จารึกโคลงภาพต่างภาษาแผ่นที่ 15 (ภาพหรูชปีตะสบาก)” ซึ่งหมายถึง ชาวรัสเซียที่อาศัยอยู่ ณ กรุงเซนต์ปีเตอร์สเบอร์กเมืองหลวงของรัสเซียซึ่งอยู่ในทวีปยุโรป