จารึก

The Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre

จารึกโคลงภาพคนต่างภาษา แผ่นที่ 9 (ภาพสระกาฉวน)

จารึก

จารึกโคลงภาพคนต่างภาษา แผ่นที่ 9 (ภาพสระกาฉวน) ด้านที่ 1

QR-code edit Share on Facebook

เวลาที่โพส โพสต์เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม 2563 เวลา 13:14:35

ชื่อจารึก

จารึกโคลงภาพคนต่างภาษา แผ่นที่ 9 (ภาพสระกาฉวน)

อักษรที่มีในจารึก

ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์

ศักราช

ไม่ปรากฏศักราช

ภาษา

ไทย

ด้าน/บรรทัด

จำนวน 1 ด้าน (ไม่ทราบจำนวนบรรทัด)

ผู้อ่าน

ไม่ปรากฏข้อมูลผู้อ่าน

เชิงอรรถอธิบาย

1. พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร : “สระกาฉวน” กาญจนาคพันธุ์ สันนิษฐานไว้ในหนังสือ ภูมิศาสตร์วัดโพธิ์ เล่ม 1 ว่า น่าจะหมายถึง ซาระเซน (Saracen) หรือ ชาวอาหรับซึ่งนับถือศาสนาอิสลามที่อาศัยอยู่ทางภาคใต้ของประเทศอินเดีย
2. พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร : “ซิบป่าย” มาจากคำว่า “ซีปอย” (Sepoy) ซึ่งหมายถึงทหารพื้นเมืองที่ฝรั่งเศสและอังกฤษจัดตั้งขึ้นในอินเดีย เดิมเป็นภาษาเปอร์เซียว่า “สิปาหิ” แปลว่า ทหาร หรือ กองทัพ สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงระบุว่าในรัชกาลที่ 2 มีการจัดตั้งกองทหารอย่างฝรั่งขึ้นพวกหนึ่งเรียกว่า “ทหารซีป่าย” สันนิษฐานว่าเป็นทหารรักษาพระองค์ มีหน้าที่รักษาพระราชฐาน และมีต่อมาจนถึงสมัยรัชกาลที่ 3