จารึก

The Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre

จารึกที่ผนังวิหารวัดสุทัศนเทพวราราม 21 (พระพุทธปุสสะ)

จารึก

จารึกที่ผนังวิหารวัดสุทัศนเทพวราราม 21 (พระพุทธปุสสะ) ด้านที่ 1

QR-code edit Share on Facebook

เวลาที่โพส โพสต์เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2563 เวลา 17:51:13

ชื่อจารึก

จารึกที่ผนังวิหารวัดสุทัศนเทพวราราม 21 (พระพุทธปุสสะ)

อักษรที่มีในจารึก

ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์

ศักราช

ไม่ปรากฏศักราช

ภาษา

ไทย

ด้าน/บรรทัด

จำนวนด้าน 1 ด้าน มี 11 บรรทัด

ผู้อ่าน

สัจจรัตน์ สุขในมณี (พ.ศ. 2543)

ผู้ตรวจ

ผศ. กรรณิการ์ วิมลเกษม (พ.ศ. 2543)

เชิงอรรถอธิบาย

1. สัจจรัตน์ สุขในมณี : “ดิษะ” ในคัมภีร์มธุรัตถวิลาสินีใช้ “ติสสะ”
2. สัจจรัตน์ สุขในมณี : “บุษะ” ในคัมภีร์มธุรัตถวิลาสินีใช้ “ปุสสะ”
3. สัจจรัตน์ สุขในมณี : “ไชยเสนราช” ในคัมภีร์มธุรัตถวิลาสินีใช้ “ชัยเสนะ”
4. สัจจรัตน์ สุขในมณี : “กรุงกาสิกราชนคร” ในคัมภีร์มธุรัตถวิลาสินีใช้ “กรุงกาสี”
5. สัจจรัตน์ สุขในมณี : “อนุปะมะ” ในคัมภีร์มธุรัตถวิลาสินีใช้ “อนูปมะ” 6. สัจจรัตน์ สุขในมณี : “ศิริวัฒา ในคัมภีร์มธุรัตถวิลาสินีใช้ “สิริวัฑฒา”
7. สัจจรัตน์ สุขในมณี : “ศิริวัฒนดาบศ” ในคัมภีร์มธุรัตถวิลาสินีใช้ “สิริวัฑฒะ”
8. สัจจรัตน์ สุขในมณี : “อามะละกะ” ในคัมภีร์มธุรัตถวิลาสินีใช้ “อามมลกะ”
9. สัจจรัตน์ สุขในมณี : “อภิสไมย” (อภิสมัย) หมายถึง ความตรัสรู้ 10. สัจจรัตน์ สุขในมณี : “สุรักขิต” ในคัมภีร์มธุรัตถวิลาสินีใช้ “สุรักขิตะ”
11. สัจจรัตน์ สุขในมณี : “กัณกุชราช” ในคัมภีร์มธุรัตถวิลาสินีใช้ “กัณณกุชช”
12. สัจจรัตน์ สุขในมณี : “ธรรมเสนะกุมาร” ในคัมภีร์มธุรัตถวิลาสินีใช้ “ธัมมเสน”
13. สัจจรัตน์ สุขในมณี : “สุรักขิตเถร” ในคัมภีร์มธุรัตถวิลาสินีใช้ “สุรักขิตะ”
14. สัจจรัตน์ สุขในมณี : “ธรรมเสนะเถร” ในคัมภีร์มธุรัตถวิลาสินีใช้ “ธัมมเสนะ”
15. สัจจรัตน์ สุขในมณี : “ศาลาเถรี” ในคัมภีร์มธุรัตถวิลาสินีใช้ “จาลา”
16. สัจจรัตน์ สุขในมณี : “อุปศาลาเถรี” ในคัมภีร์มธุรัตถวิลาสินีใช้ “อุปจาลา”
17. สัจจรัตน์ สุขในมณี : “อายุศม์” คือ อายุ