จารึก

The Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre

จารึกเรื่องพระสาวกเอตทัคคะ แผ่นที่ 36-37 (พระนันทกะและพระนันทสากยะ)

จารึก

จารึกเรื่องพระสาวกเอตทัคคะ แผ่นที่ 36-37 (พระนันทกะและพระนันทสากยะ) ด้านที่ 1

QR-code edit Share on Facebook

เวลาที่โพส โพสต์เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 542 เวลา 00:00:00

ชื่อจารึก

จารึกเรื่องพระสาวกเอตทัคคะ แผ่นที่ 36-37 (พระนันทกะและพระนันทสากยะ)

ชื่อจารึกแบบอื่นๆ

นันทะกะเถรวัตถุ, นันทะสากยเถรวัตถุ

อักษรที่มีในจารึก

ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์

ศักราช

ไม่ปรากฏศักราช

ภาษา

ไทย

ด้าน/บรรทัด

จำนวน 1 ด้าน มี 5 บรรทัด

ผู้อ่าน

ไม่ปรากฏข้อมูลผู้อ่าน

เชิงอรรถอธิบาย

1. พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร : “เถร” เมื่อพิจารณาจากจารึกพบว่าเป็น “เถระ”
2. พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร : “บุตร” เมื่อพิจารณาจากจารึกพบว่าเป็น “บุตร์”
3. พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร : “โกฬิยนคร” เมื่อพิจารณาจากจารึกพบว่าเป็น “โกฬียนคร”
4. พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร : “และ” เมื่อพิจารณาจากจารึกพบว่าเป็น “แล”
5. พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร : “กบิลพัสดุ์” เมื่อพิจารณาจากจารึกพบว่าเป็น “กบิลพัดถุ”
6. พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร : “ได้ทรงฟัง” เมื่อพิจารณาจากจารึกพบว่าเป็น “ได้ฟัง”
7. พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร : “เอตะทัคคะ” ในจารึกนี้เป็น “เอตะทัคะ” ทุกแห่ง
8. พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร : “อินทรียสังวร” พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์ อธิบายว่า หมายถึง สำรวมอินทรีย์ 6 คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ไม่ให้ยินดียินร้าย, ระวังไม่ให้กิเลสครอบงำใจ ในเวลารับรู้อารมณ์ทางอินทรีย์ทั้ง 6