ชุดข้อมูลจารึกกัลปนา หลังพุทธศตวรรษที่ 18
ก่อนการสถาปนากรุงสุโขทัย ดินแดนแถบนี้เคยอยู่ใต้อิทธิพลของอาณาจักรขอม จึงได้รับอิทิธิพลหลายๆ อย่างรวมถึงแนวคิดการกัลปนาด้วย แต่กรุงสุโขทัยนำมาปรับใช้กับพระพุทธศาสนา โดยคำว่า กัลปนา มีความหมายว่า การอุทิศ ในสมัยสุโขทัยพบจารึกที่มีการใช้คำว่า กัลปนา 3 หลัก สมัยอยุธยา 6 หลัก และสมัยรัตนโกสินทร์ 2 หลัก /อ้างอิง ศิริสาร เหมือนโพธิ์ทอง . การกัลปนาในจารึกสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี-รัตนโกสินทร์. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยศิลปากร,; 2549. 58-61.
title | type | description | subject | spatial | temporal | language | source.uri | |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 |
จารึกแผ่นดีบุก วัดมหาธาตุ |
ไทยอยุธยา |
เป็นคำอุทิศส่วนกุศลจากการหล่อพระพุทธพิมพ์เท่าจำนวนวันเกิด การบูชาพระรัตนตรัย และการฟังพระอภิธรรม 7 คัมภีร์ ให้แก่สรรพสัตว์ทั้งหลาย บิดา ญาติ และตนเอง โดยขอให้ตนได้ไปเกิดบนสวรรค์ชั้นดุสิต เฝ้าพระศรีอารย์ และเมื่อพระองค์เสด็จลงมาตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า ก็ขอให้ตนได้มาเกิดในตระกูลกษัตริย์ มีปัญญารอบรู้ กล้าหาญ ฯลฯ และถึงแก่นิพพาน ตอนท้ายได้ระบุชื่อและอายุของผู้สร้างพระพิมพ์คือ พ่ออ้ายและแม่เฉา อายุ 75 ปี เนื้อหาในจารึกแผ่นนี้ทำให้ทราบถึงการสร้างพระพิมพ์ในสมัยอยุธยาว่านอกจากจะสร้างขึ้นเพื่อสืบทอดศาสนาแล้ว ยังมีขนบการสร้างให้มีจำนวนเท่ากับวันเกิดของตนเองดังเช่น พ่ออ้ายและแม่เฉา ซึ่งมีอายุ 75 ปี ได้ระบุจำนวนวันตามอายุของตนว่า “..ญิบหมื่นเจ็ดพันห้าร้อยวัน..” จึงสร้างพระพิมพ์ตามจำนวนดังกล่าว (หากคำนวนตามความเป็นจริงแล้วจะพบว่าจำนวนวันเกินจากความเป็นจริงไปเล็กน้อย) |
จารึกแผ่นดีบุก วัดมหาธาตุ, หลักที่ 42 จารึกแผ่นดีบุกภาษาไทย วัดมหาธาตุ, หลักที่ 42 จารึกแผ่นดีบุกภาษาไทย วัดมหาธาตุ, อย. 2, อย. 2, ดีบุก, แผ่นรูปสี่เหลี่ยม, พระปรางค์วัดมหาธาตุ, อำเภอพระนครศรีอยุธยา, จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, ไทย, อยุธยา, พ่ออ้าย, แม่เฉา, พระไมตรี, พระศรีอารย์, พระศรีสรรเพชญ์, พระพุทธเจ้า, สาธุชน, บาตร, จีพร, จีวร, พุทธศาสนา, หล่อพระพุทธพิมพ์, หล่อพระพุทธรูป, บูชาพระศรีรัตนตรัย, กัลปนา, บวช, ผนวช, พระพิมพ์, นิรพาน, นิพพาน, อธิษฐาน, กุศล, ไตรภพ, ดุสิตคัล, กษัตริย์ตระกูล, ทาน, ปราชญ์, ขพุงธรรมเทศนา, เกศ, บุญพระสัดปกรณาภิธรรม์, สัตปกรณาภิธรรม์,กเลส, กิเลส, อรหัต, พระอภิธรรม 7 คัมภีร์, พระอภิธรรม 7 คัมภีร์, สงสาร, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ศิลปากร, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, จารึกสมัยสุโขทัย, อายุ-จารึก พ.ศ. 1917, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1, วัตถุ-จารึกบนดีบุก, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-หล่อพระพุทธรูป, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นิพพาน, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-พระศรีอาริยเมตไตรย, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-ชาติหน้า, บุคคล-พ่ออ้าย, บุคคล-แม่เฉา |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 1917 (โดยประมาณ) |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/672?lang=th |
2 |
จารึกเจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ณ วัดพุทธโฆสาจารย์ กรุงพนมเปญ (K. 1213) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
กล่าวถึงการปฏิสังขรณ์วัดและการสร้างเจดีย์บรรจุพระบรมสารีริกธาตุที่กรุงพนมเปญ โดยเจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ใน พ.ศ. 2385 เมื่อครั้งที่ยกทัพไปปราบญวนในประเทศกัมพูชา ตอนท้ายกล่าวอุทิศส่วนกุศลให้เทวดาผู้คุ้มครองเจดีย์และสาปแช่งผู้ที่คิดจะมาทำลาย |
L’INSCRIPTION THAїE DU VATT BUDDHAGHOSACARY DE PHNOM-PENH (K.1213), จารึกเจ้าพระยาบดินเดชา (สิงห์ สิงหเสนี), จารึกเจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ณ วัดพุทธโฆสาจารย์ กรุงพนมเปญ (K. 1213), จารึกเจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ณ วัดพุทธโฆสาจารย์ กรุงพนมเปญ (K. 1213), พ.ศ. 2382, จ.ศ. 1201, พ.ศ. 2385, จ.ศ. 1204, พ.ศ. 2382, จ.ศ. 1201, พ.ศ. 2385, จ.ศ. 1204, พ.ศ. 2382, จ.ศ. 1201, พ.ศ. 2385, จ.ศ. 1204, พ.ศ. 2382, จ.ศ. 1201, พ.ศ. 2358, จ.ศ. 1204, พุทธศักราช 2382, จุลศักราช 1201, พุทธศักราช 2385, จุลศักราช 1204, พุทธศักราช 2382, จุลศักราช 1201, พุทธศักราช 2385, จุลศักราช 1204, พุทธศักราช 2382, จุลศักราช 1201, พุทธศักราช 2385, จุลศักราช 1204, พุทธศักราช 2382, จุลศักราช 1201, พุทธศักราช 2358, จุลศักราช 1204, หินทราย, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดพุทธโฆสาจารย์ กรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา, สยาม, ไทย, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, จักรี, รัตนโกสินทร์, เจ้าพระยาบดินทรเดชา, สิงห์ สิงหเสนี, กัมพูชา, เขมร, กัมพุช, กำพุช, เวียดนาม, พนมเปญ, ญวน, พุทธศาสนา, ปฏิสังขรณ์, บูรณะ, สงคราม, ญวน, เจดีย์, พระสารีริกธาตุ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดำรงราชานุภาพ, ประวัติเจ้าพระยามหาเสนา (บุนนาค), ประวัติเจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ประวัติเจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม), ศานติ ภักดีคำ, ดำรงวิชาการ, Olivier de Bernon, Dedications to Her Royal Highness Princess Galyani Vadhana Krom Luang Naradhiwas Rajanagarindra on her 80th birthday, อายุ-จารึก พ.ศ. 2385, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพุทธโฆสาจารย์ พนมเปญ กัมพูชา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างเจดีย์, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-บรรจุพระธาตุ, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, บุคคล-เจ้าพระยาบดินทรเดชา |
หน้าพระเจดีย์บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ วัดพุทธโฆสาจารย์ กรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา |
พุทธศักราช 2385 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2536?lang=th |
3 |
จารึกวัดเขากบ |
ไทยสุโขทัย |
ด้านที่ 1 เป็นเรื่องสร้างรามเจดีย์และรามวิหาร ที่รามอาวาสบนยอดเขาสุมนกูฏ คือเขากบนั้นเอง ผู้สร้างพระเจดีย์และวิหาร ขออุทิศส่วนกุศลให้พระยาพระราม ผู้เป็นน้อง ชื่อผู้สร้างไม่ปรากฏในคำจารึก หรือบางทีอาจปรากฏอยู่ในท่อนที่หักหายไปก็ได้ แต่สันนิษฐานได้โดยง่าย เพราะในพระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐ มีความปรากฏว่า “ศักราช 781 กุนศกมีข่าวมาว่า พระมหาธรรมราชาธิราชเจ้า นฤพาน และเมืองเหนือทั้งปวงเป็นจลาจล แล้วจึงเสด็จขึ้นไปเถิงเมืองพระบาง ครั้งนั้นพระยาบาลเมือง และพระยามรามออกถวายบังคม” ดังนี้ สันนิษฐานว่า พี่ของพระยาพระรามเห็นจะเป็นพระยาบาลเมืองนั่นเอง พระรามเจดีย์ พระรามวิหาร และศิลาจารึกหลักนี้จะได้สร้างและจารึกทีหลัง จ.ศ. 781 หรือ พ.ศ. 1962 ด้านที่ 2 เห็นจะได้จารึกภายหลังด้านที่ 1 เป็นเรื่องผู้ใดผู้หนึ่งไม่ปรากฏชื่อ ได้บำเพ็ญบุญกุศลต่างๆ แล้วแวะไปเที่ยวเสาะแสวงหาพระธาตุจนถึงเมืองอินเดียและลังกา แต่จะได้จารึกภายหลังกี่ปี ไม่ปรากฏชัด |
จารึกวัดเขากบ, นว. 2, นว. 2, หลักที่ 11 ศิลาจารึกเขากบ เมืองปากน้ำโพ, หลักที่ 11 ศิลาจารึกเขากบ เมืองปากน้ำโพ, หินทราย, แผ่นสี่เหลี่ยม, พุทธสถาน, เขากบ, ปากน้ำโพ, จังหวัดนครสวรรค์, ไทย, สุโขทัย, พระราม, พระยามหาธรรม, พระยา, ท้าว, สงฆ์, พระพุทธเจ้า, พระพุทธศรีอารยไมตรี, พระศรีมหาโพธิ์, บัว, ช้าง, ข้าว, ดอกไม้, น้ำมัน, จอมเขาสุมนกูฏ, นครสระหลวง, ศรีสัชนาลัย, สุโขทัย, ฝาง, แผล, ระพุน, แพร่, ลำพูน, เชียง, ตาก, นครพัน, กลิงคราฐ, ปาตลิบุตร, นครตรีโจลมัณฑลา, มัลลราช, ลังกาทีป, ลังกาทวีป, พระมหานครสิงหล, ตะนาวศรี, สิงหลทีป, สิงหลทวีป, เพชรบุรี, ราชบุรี, อโยธยา, ศรีรามเทพนคร, ตระพัง, มหาสะพาน, สอรพินรุณาส, บาดาล, รัตนกูดานครไทย, กัมพงคลอง, พุทธศาสนา, พระมหาธาตุ, พระมหารัตนธาตุ, เจดีย์, รามเจดีย์, รามวิหาร, พิหาร, รามอาวาส, พระเจดีย์พระศรีรัตนธาตุ, การก่อเจดีย์, กัลปนา, การประดิษฐานพระพุทธรูป, การปลูกพระศรีมหาโพธิ, ไม้, ก้อนหิน, ก้อนผา, พุทธปฏิมา, ธรรม, บุญ, เทพดาอารักษ์, ยศ, โลก, ทศบารมี, สมภารบารมี, อธิษฐานบารมี, มหาประทีป, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 19-20, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 19, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่อาคารหอพระสมุดวชิรญาณ หอสมุดแห่งชาติ, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระเจดีย์, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระวิหาร, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, บุคคล-พระยาพระราม, บุคคล-พระยาบาล, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร กรุงเทพมหานคร, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล 6 กันยายน 2566) |
พุทธศักราช 19-20 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/215?lang=th |
4 |
จารึกวัดเขมา |
ไทยสุโขทัย |
คำจารึกตอนต้นชำรุดมากอ่านไม่ใคร่ได้ความ เท่าที่ยังเหลืออยู่เป็นเรื่องเจ้าเทพรูจี อุปสมบทเป็นภิกษุ และภายหลังได้บำเพ็ญกุศลต่างๆ พร้อมด้วยญาติและพวกสัตบุรุษ เมื่อปี พ.ศ. 2079 |
จารึกวัดเขมา, สท. 11, สท. 11, หลักที่ 14 ศิลาจารึกวัดเขมา จังหวัดสุโขทัย, หลักที่ 14 ศิลาจารึกวัดเขมา จังหวัดสุโขทัย, ศิลาจารึกวัดเขมา พุทธศักราช 2079, ศิลาจารึกวัดเขมา พุทธศักราช 2079, พ.ศ. 2079, พุทธศักราช 2079, ม.ศ. 1458, มหาศักราช 1458, พ.ศ. 2079, พุทธศักราช 2079, ม.ศ. 1458, มหาศักราช 1458, หินชนวน, แผ่นรูปใบเสมา, วัดเขมา, ริมถนนพระร่วง, สุโขทัย, ไทย, อยุธยา, พระมหาเถร, เจ้าเทพรูจี, พระเจ้า, พระเป็นเจ้า, พระพุทธเจ้า, บาผ้าขาว, เจ้าพระยาศรีธรรมาโศกราช, นักบุญ, เจ้าหมื่นเทพเนรมิต, สมเด็จมหาอุบาสก, บาผ้าขาวเทพ, ท้าว, พระยา, ครูอุปัชฌาย์, อำแดงกอน, อำแดงหอม, อำแดงเสน, อำแดงหยาด, นายพันพิษณุกรรม, นายสัง, นายเทพไชย, อำแดงยอด, อำแดงยศ, อีบุนรัก, มหาเวสสันดร, นักบุญ, พระสงฆ์, ผ้าเบงจตี, เครื่องสำรับ, อาสน, บาตรทองเหลือง, บาตรพระเจ้า, ลางพานเทส,ลางพานเทศ, ถ้วยโคมลาย, ถ้วยบริพัน, บายศรีบูชาพระเจ้า, ตเลิงทองเหลือง, หมากบูชาพระเจ้า, เลียนทองสัมฤทธิ์, เลียนทองสำริด, เลียนเทส, เมี่ยงบูชาพระเจ้า, เมี่ยงบูชาพระเจ้า, น้ำเต้าทองสัมฤทธิ์, น้ำบูชาพระเจ้า, น้ำเต้าทองสำริด, น้ำมังเบือ, กากะเยีย, เพดานธรรมมาส, ไม้ประดับ, ตาตุ่มทองเหลือง, ฆ้อง, กลอง, กังสะดาล, หินพิง, หินดาดที่นั่ง, ที่พระเจ้า, หินแลง, กากะเยีย , พุทธศาสนา, พิหาร, วิหาร, รีสพัง, สรีดภงส์, พระเจดีย์, อุปสมบท, บวช, กัลปนา, เทพยดา, เทพดา, เทวดา, น้ำอาบ, น้ำกิน, ทรัพย์สาธารณ, กำแพง, บาท, ตำลึง, สลึง, ปีวอก, เชษฐมาส, พยาบาล, ศอก, พระธรรมคัมภีร์, พระสมุดชายปัก, เพดานธรรมาส, ชั่ง, ธรรม, บ่อน้ำ, สวน, ไร่, นา, รือก, บิ้ง, สารากร, บุริสการ, พระพุทธ, พระธรรม, อานิสงส์, สวรรค์, นิพพาน, โพธิสมภาร, ชาติ, สมบัติ, พยาธิ, เปรตดิรัจฉาน, เปรตเดรัจฉาน, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, จารึกสมัยสุโขทัย, ยอร์ช เซเดส์, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 1 : เป็นจารึกกรุงสุโขทัยที่ได้พบก่อน พ.ศ. 2467, อายุ-พ.ศ. 2079, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, บุคคล-เจ้าเทพรูจี, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล พฤษภาคม 2565) |
พุทธศตวรรษ 2079 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/222?lang=th |
5 |
จารึกวัดอโสการาม |
ไทยสุโขทัย,ขอมสุโขทัย |
ด้านที่ 1 กล่าวถึงสมเด็จพระราชเทพีศรีจุฬาลักษณ์ พระอัครมเหสี สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช ทรงมีพระราชศรัทธาประดิษฐานพระสถูปไว้ในวัดอโสการาม ด้านที่ 2 ท่านกวีราชบัณฑิตศรีธรรมไตรโลก ได้รจนาเป็นภาษาบาลี กล่าวถึงการบำเพ็ญกุศลในวัดอโสการาม และการตั้งความปรารถนาเป็นบุรุษ ความเป็นผู้ที่สมบูรณ์ด้วยรูป ยศ และอายุของสมเด็จพระราชเทพีศรีจุฬาลักษณ์ |
จารึกวัดอโสการาม, สท. 26, สท. 26, ศิลาจารึกอักษรไทย ภาษาไทย จากวัดอโสการาม สุโขทัย, ศิลาจารึกอักษรขอม ภาษามคธ จากวัดอโสการาม สุโขทัย, หลักที่ 93 ศิลาจารึกวัดอโสการาม พุทธศักราช 1942, หลักที่ 93 ศิลาจารึกวัดอโสการาม พุทธศักราช 1942, พ.ศ. 1881, พุทธศักราช 1881, พ.ศ. 1881, พุทธศักราช 1881, จ.ศ. 700, จุลศักราช 700, จ.ศ. 700, จุลศักราช 700, พ.ศ. 1942, พุทธศักราช 1942, พ.ศ. 1942, พุทธศักราช 1942, จ.ศ. 761, จุลศักราช 761, จ.ศ. 761, จุลศักราช 761, พ.ศ. 1910, พุทธศักราช 1910, พ.ศ. 1910, พุทธศักราช 1910, จ.ศ. 730, จุลศักราช 730, จ.ศ. 730, จุลศักราช 730, หินแปร, แผ่นรูปใบเสมา, วัดสลัดได, ตำบลเมืองเก่า, จังหวัดสุโขทัย, ไทย, สุโขทัย, สมเด็จพระราชเทพีศรีจุฬาลักษณ์อรรคราชมเหสี, สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช, พระศรีมหาโพธิวงศ์กมลญาณ, เจ้าญาณวังสราชบัณฑิต, เจ้าศรีวัง, เจ้าสังขสร, พระมหาพุทธสาคร, พระมหาเถรสรภังคเถร, เสด็จแม่อยู่หัว, มหาวันรัตนเถร, พ่ออยู่หัว, พระศรีธรรมราชมารดา, พระยาลิไทย, พระะมหาธรรมราชาธิราช (ผู้หลาน), พระอโศก,ชายา, ธรรมกถึก, สมวัด, กับปิการพยาบาล, ประธาน, นายเชียงศรีจันท์, เสด็จพระมหาสวามีเจ้า, สมเด็จพ่อออก, สมเด็จพระราชเทวี, สมเด็จปู่พระยาพ่อออกแม่ออก, สมเด็จมหาธรรมราชาธิราชพระศรีธรรมราชมารดา, ญาติกุล, ท้าวพระยา, สาธุชน, พระพุทธเจ้า, พระมหากษัตริย์พระมารดา, พระศรีธรรมราชมาดา, มเหสี, พระจอมนระ, พระราชาลิไทย, พระเจ้าลิไทย, พระราชา, พระสงฆ์, พระราชบุตร, พระเชษฐา, พระอโศก, บัณฑิต, ญาณวงศ์, ศรีวงศ์, สังขสร, พนักงานชาวประโคม, บุรุษ, ศรีจันทร์, พระภิกษุ, สมณะ, พระเถระ, สรภังคะ, พระสวามี, มารดาบิดา, พระพุทธเมตไตรย, พุทธบริษัท, ผู้ยากจน, พระศรีมหาโพธิ์, สารภี, บุนนาค, พิกุล, มะม่วง, ขนุน, มะขวิด, มะพร้าว, เมล็ดข้าวสาร, เมล็ดพันธุ์ผักกาด, ผลึกรัตน, พิกุล, ข้าว, เครื่องเคาะจังหวะ,พาทย์, แตร, สังข์, ปี่, กลองใหญ่, กังสดาลใหญ่, ข้าวเปลือก, อาหารกัปปิยภัณฑ์, นิจภัต, น้ำ, วัดอโสการาม, ทักษิณาราม, ลังการาม, บูรพาราม, เมืองนครไทย, เมืองวัชชะปุร, ดอยอุ้ย, แม่น้ำพิง, เมืองเชียงทอง, เมืองนาคปุร, เมืองลักขะ, แม่น้ำยม, ลังกา, ปราการ, สะพาน, ถนน, ท่งชัย, ทุ่งชัย, ศรีจุฬาวาส, พระธรรมราชบูรณ์, รัฐมณฑล, รัฐสีมา, แควน้อย, เมืองลักขะ, เมืองแสน, เมืองสร้อย, คู, มหาสมุทร, พุทธศาสนา, พระชินศาสนา, สถูป, กุฎี, กุฏิ, ปราการ, สะพาน, ถนน, วิหาร, มณฑป, เจดีย์, วัดอโสการาม, ทักษิณาราม, ลังการาม, บูรพาราม, ศีลวิสุทธาวาส, พระอาราม, ประดิษฐานพระสถูป, ประดิษฐานครรภพระมหาเจดีย์, ประดิษฐานพระมหาเจดีย์, ประดิษฐานพระเจดีย์, ประดิษฐานข้าพระ, ประดิษฐานนา, ผนวช, บวช, สงสการ, สังสการ, กัลปนา, การบำเพ็ญบุญ, สถาปนารัฐสีมา, สวดพระบาลีล การบริจาคทรัพย์, ฉลองอโสการาม, บริจาคทาน, ปีเถาะ, พระมหาธาตุเจ้า, พระพุทธรูป, นักษัตรผัคคุณมาส, ฤกษ์มหุรดี, ปัญจพิธกัลญาณี, ศีลพร, ปิฎกไตร, ไตรปิฎก, นา, เกวียน, สวน, สูปพยัญชนาการ, บาตร, สำรับ, ศีลมรรยาทวัตตปฏิบัติ, กรรม, ผลานิสงส์, โกฏฐาสบุญ, ทุกภยันตราย, สุข, พระราชกุศล, อนาคต, เลขวัด, พระรัตนตรัย, บุญสมภาร, วันอังคาร, ปีวอก, ศิลป, บุญสมภาร, เทวดา, พระพุทธ, พระธรรม, พระบรมธาตุ, สีแก้วผลึก, สีดอกพิกุลแห้ง, พระธาตุในพระสถูป, วันศุกร์, กำแพง, โกฏฏิ, ปัจจัย, บุญกรรม, อุปัททวะ, สวรรค์, บุญญานุภาพ, ภาวนา, รูป, ยศ, อายุ, ทรัพย์สมบัติ, กองทรัพย์, ภพ, วัฏฏสงสาร, สัมโพธิ, ราชสมบัติ, ปูชนียวัตถุ, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, ประสาร บุญประคอง, ประเสริฐ ณ นคร, แสง มนวิทูร, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, บาลีสันสกฤต, ประสาร บุญประคอง, ประเสริฐ ณ นคร, แสง มนวิทูร, จารึกสมัยสุโขทัย, อายุ-อายุ พ.ศ. 1942, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย-พระมหาธรรมราชาที่ 2, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินแปร, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอพระสมุดวชิรญาณ กรุงเทพมหานคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างสถูป, บุคคล-สมเด็จพระราชเทพีศรีจุฬาลักษณ์, บุคคล-กวีราชบัณฑิตศรีธรรมไตรโลก, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, ภาพสำเนาจารึกจาก : ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4 (พระนคร : สำนักนายกรัฐมนตรี, 2513), มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล 6 กันยายน 2566) |
พุทธศักราช 1942 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/235?lang=th |
6 |
จารึกวัดพระเสด็จ |
ไทยสุโขทัย,ขอมสุโขทัย |
นายพันเทพรักษาและนายพันสุริยามาตย์พร้อมด้วยภรรยา และท่านเจ้าขุนหลวงมหาเพียรประญา สถาปนาพระวิหาร ตลอดจนการบำเพ็ญกุศลต่างๆ ในสถานารามคาม |
จารึกวัดพระเสด็จ, สท. 12, สท. 12, จารึกหลักที่ 15 ศิลาจารึกวัดพระเสด็จ จังหวัดสุโขทัย, จารึกหลักที่ 15 ศิลาจารึกวัดพระเสด็จ จังหวัดสุโขทัย, ศิลาจารึกวัดพระเสด็จ พุทธศักราช 2068, ศิลาจารึกวัดพระเสด็จ พุทธศักราช 2068, พ.ศ. 2052, พุทธศักราช 2052, พ.ศ. 2052, พุทธศักราช 2052, ม.ศ. 1431, มหาศักราช 1431, ม.ศ. 1431, มหาศักราช 1431, พ.ศ. 2055, พุทธศักราช 2055, พ.ศ. 2055, พุทธศักราช 2055, ม.ศ. 1434, มหาศักราช 1434, ม.ศ. 1434, มหาศักราช 1434, พ.ศ. 2059, พุทธศักราช 2059, พ.ศ. 2059, พุทธศักราช 2059, ม.ศ. 1438, มหาศักราช 1438, ม.ศ. 1438, มหาศักราช 1438, พ.ศ. 2068, พุทธศักราช 2068, พ.ศ. 2068, พุทธศักราช 2068, ม.ศ. 887, มหาศักราช 887, ม.ศ. 887, มหาศักราช 887, หินแปร , แผ่นรูปใบเสมา, วัดพระแก้ว, จังหวัดสุโขทัย, ไทย, สุโขทัย, อรูปพรหม, นายพันเทพรักษา, นายพันสุริยามาตย์, อำแดงคำกอง, อำแดงคำแก้ว, พระมหาเถรราหุลเทพวันนวาสีศรีวิริยประญา, สัปบุรุษ, ประธาน, ท่านเจ้าขุนหลวงมหาเพียรประญา, ออกหลวงมหาเพียรประญา, ท้าวยอดท้าว, พระศรีสรรเพชญ, สมเด็จพระสังฆราชจุฑามณีศรีสังฆปรินายกสธรรมดิลกบรมเวธาจารีย์บพิตร, สมเด็จพระสังฆราชเจ้า, อำแดงศรีบัวทอง, มหาพรหมรัตน์, วิลาศ, นายไกรเชียร, มหาเทพ, มหาจันทร์, มหามงคล, มหานนท์, อีแก้ว, นายพันเทพ, อำแดงน้อย, แม่ศรีบัวทอง, ข้าพระ, พระสงฆ์, มหาเถรราหุลเทพวันนวาสี, มหาเทพภิกษุ, มหานนท์, เจ้าพันรด, นายไกรเชียร, ข้าอุโบสถ, ฆ้อง, ทอง, เงิน, สบู, หินสีมา, หินเสมา, หินดาด, น้ำทักษิโณทก, ผ้าขาวบูรพัตร, ผ้าข้าวสวรัตน์, อารามกานสอ, สังฆิการาม, วัดพระเสด็จ, วันนาวาส, พุทธศาสนา, พระวิหารสถานารามคาม, พระพิหารสถานพระสรรเพชญ, พัทธสีมาอุโบสถ, พระวิหารสถานสีมา, พระพิหารสถานสีมา, อุโบสถวัดพระเสด็จ, การสถาปนาพระวิหาร, การสถาปนาพระพิหาร, การสถาปนาอุโบสถ, กัลปนา, ปีมะเส็ง, บูรณมี, ไพสาข, วันพุธ, ศุภมหุรดี, ปีมะแม, ปีกุน, ปีขาล, ปีระกา, ชั่ง, ตำลึง, บาท, บุญ, กุศล, คุณาธิคุณ, มฤคศิร, โรค, ทุกข์, สวรรค์, นิรพาน, นิพพาน, ปรัชญา, มหาปรัชญา, สัปตศก, พินัยกรรม, กรรมาวสาน, อายุ-จารึก พ.ศ. 2064, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินแปร, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอพระสมุดวชิรญาณ กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระวิหาร, บุุคคล-พันเทพรักษา, บุคคล-นายพันสุริยามาตย์, บุุคคล-เจ้าขุนหลวงมหาเพียรประญา, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล 6 กันยายน 2566) |
พุทธศักราช 2068 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/111?lang=th |
7 |
จารึกวัดพระคันธกุฎี |
ไทยอยุธยา |
กล่าวถึงการสร้างวัดพระคันธกุฎีใน พ.ศ. 2298 มีการแผ่ส่วนบุญแด่บุพการีผู้มีพระคุณ รวมทั้งยักษ์ ปีศาจ และเทวดาทั้งหลาย ตอนท้ายสาปแช่งผู้คิดจะฉ้อโกงของวัด โดยขอให้ตกนรกอเวจี และระบุชื่อผู้ที่ถูกกัลปนาให้เป็นผู้ดูแลรักษาวัด (ข้าพระ) |
จารึกวัดพระคันธกุฎี, อย. 5, อย. 5, พ.ศ. 2298, พุทธศักราช 2298, พ.ศ. 2298, พุทธศักราช 2298, หินชนวนสีเทา, แผ่นรูปสี่เหลี่ยม, วัดพระคันธกุฎี, อำเภอพระนครศรีอยุธยา, จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, ไทย, อยุธยา, หมื่นสกลเขตรักษา, นายบุญเกิดฉาง, นายบุญทองบ้านไทร, นายคุมบ้าน, นายมาก, พระสรรเพชญพุทธเจ้า, พระอานนท์, ข้าพระ, พระแท่น, พระเขนย, หมอน, ผ้าชุบสรง, ผ้าอาบน้ำฝน, อาสนะ, เงิน, ทอง, ศรีอยุธยามหาดิลกภพนพรัตนราชธานีบุรีรมย์, บ้านคลอง, กรุงพาลี, พุทธศาสนา, วัดเดิม, วัดพระคันธกุฎี, พระวิหารน้อย, พระเจดีย์, พระอุโบสถ, การทำบุญ, เทศนา, วิสัชนา, ปัญหาเทวดา, ถวายผ้าชุบสรง, พระกัลปนา, พระวัสสา, พระพุทธรูป, เทวดาบรรพต, เทวดาพระธรณี, ยักษ์, สาตาคีรียักษ์, เหมวตายักษ์, อาฬวกยักษ์, มายากุเฏณฑุยักษ์, เวเฏณฑุยักษ์, ภูต, ผี, ปีศาจ, อวิจี, อเวจี, ผลานิสงส์, ส่วนบุญ, ปริศนาลายแทง, ทรัพย์, ถนน, มหานรก, กัลป์, บ้านคลอง, วัดเดิม, วัดพระคันธกุฎี, พระแท่น, พระเขนย(หมอน) , ผ้า, พระพุทธรูป, พระสรรเพชญ์, เทวดา, พระอานนท์,ผ้าชุบสรง (ผ้าอาบน้ำฝน) , วิหาร, เจดีย์, อุโบสถ, กุฎี, ยักษ์, สาตาคีรียักษ์, เหมวตายักษ์, อาทวกยักษ์, จิตรเสนยักษ์ มายากุเฏณฑุยักษ์, เวเฏณฑุยักษ์, ภูต, ปีศาจ, กรุงพาลี, อวิจี, อเวจี, ผลานิสงส์ 3 ประการ การทำบุญ, ส่วนบุญ, ข้าพระ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, อายุ-จารึก พ.ศ. 2298, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวนสีเทา, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-วัดพระคันธกุฎี พระนครศรีอยุธยา, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม ตำบลหัวรอ อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (สำรวจเมื่อ 22-24 กุมภาพันธ์ 2565) |
พุทธศักราช 2298 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/638?lang=th |
8 |
จารึกวัดบูรพาราม |
ไทยสุโขทัย,ขอมสุโขทัย |
ด้านที่ 1 ว่าด้วยพระราชประวัติพระมหากษัตริย์แห่งกรุงสุโขทัย นับแต่การประสูติ จบการศึกษาศิลปศาสตร์ การเสวยราชย์ การปราบดาภิเษก การขยายพระราชอาณาเขตไปยังทิศานุทิศ มีเมืองฉอด เมืองพัล ลุมบาจาย ยโสธร นครไทย เชียงดง เชียงทอง เป็นต้น จากนั้นกล่าวถึงสมเด็จมหาธรรมราชาธิราช เสด็จออกทรงผนวช และเสด็จสวรรคตในปี พ.ศ. 1951 นอกจากพระราชประวัติ ยังได้กล่าวถึงสายสัมพันธ์ราชสกุลแห่งพระราชวงศ์ การประดิษฐานพระมหาธาตุใน “บูรพาราม” การสร้างถาวรวัตถุในพระพุทธศาสนา ท้ายของด้านที่ 1 นี้กล่าวถึง สมเด็จพระราชเทวีเจ้าทรงกัลปนาอุทิศบุณยโกฏฐาส เพื่อทรงอุทิศส่วนพระราชกุศล ถวายแด่สมเด็จมหาธรรมราชาธิราช สมเด็จพระศรีธรรมราชมาตาพร้อมด้วยพระบรมวงศานุวงศ์ มีสมเด็จปู่พระยา พ่อออก แม่ออก เป็นต้น ส่วนข้อความจารึกด้านที่ 2 กล่าวถึงพระเทวีสังฆมารดาและพระเทวี ร่วมกันบูชาพระรัตนตรัย และกล่าวถึงพระราชประวัติพระมหาธรรมราชาธิราช ทรงประสูติจากพระครรภ์พระศรีธรรมราชมารดา พระอัครมเหสีของ “สิริราชา” เมื่อเดือน 8 ศักราช 730 (พ.ศ. 1900) |
หลักที่ 286 จารึกวัดบูรพาราม, หลักที่ 286 จารึกวัดบูรพาราม, สท. 59, สท. 59, พ.ศ. 1911, พุทธศักราช 1911, พ.ศ. 1911, พุทธศักราช 1911, จ.ศ. 730, จุลศักราช 730, จ.ศ. 730, พุทธศักราช 730, พ.ศ. 1939, พุทธศักราช 1939, พ.ศ. 1939, พุทธศักราช 1939, จ.ศ. 758, จุลศักราช 758, จ.ศ. 758, พุทธศักราช 758, พ.ศ. 1951, พุทธศักราช 1951, พ.ศ. 1951, พุทธศักราช 1951, จ.ศ. 770, จุลศักราช 770, จ.ศ. 770, พุทธศักราช 770, พ.ศ. 1955, พุทธศักราช 1955, พ.ศ. 1955, พุทธศักราช 1955, จ.ศ. 774, จุลศักราช 774, จ.ศ. 774, พุทธศักราช 774, พ.ศ. 1956, พุทธศักราช 1956, พ.ศ. 1956, พุทธศักราช 1956, จ.ศ. 775, จุลศักราช 775, จ.ศ. 775, พุทธศักราช 775, หินชนวนสีเขียว, รูปใบเสมา, จังหวัดสุโขทัย, ไทย, สุโขทัย, พระพุทธเจ้า, สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช, สมเด็จพระศรีธรรมราชมารดา, สมเด็จพระศรีธรรมราชมาดา, สมเด็จพระราชเทวีศรีจุฬาลักษณ์อัครราชมหิศีเทพยธรณีดิลกรัตนบพิตรเป็นเจ้า, สมเด็จรามราชาธิราช, ศรีธรรมาโศกราช, พระมหาอานนท์, สาธุชน, พระมุนี, พระศาสดา, พระทศพล, พระเทวีสังฆมารดา, พระเทวีศรีจุฬาลักษณ์, อัครมเหสี, พระราชบิดา, สิริราชา, พระเจ้าแผ่นดิน, กษัตริย์, นางเทวนารีอัปสร, พระนางพิมพา, พระนางมหามายา, พระนางจันทิมา, พระนางสรัสวดี, พระสงฆ์, พระราชบุตร, กนิฏฐกะ, พระญาณคัมถีรเถระ, โชติปาละ, พระเถระ, พระฏิปิฎกาจารย์, เทวมงคล, พระธรรมกรรมกะ, พระอินทโฆสะ, บัณฑิต, พระปาลีติตะ, บุรุษ, สามเณร, พระภิกษุ, อุบาสก, พระสารีบุตรปิยทัสสะ, พระจันทิยยภุยยะ, พระพุทธปาลสิริวังสะรับ, ลวะ, เหมะ, พระสลิสรานันทเถระ, ประมุข, พระติโลกติลกรตนสีลคันธารวาสีธรรมกิตติสังฆราชมหาสมณะ, พระสมณินทัสสเถระ, สมเด็จมหาธรรมราชาธิราช, พระกันโลง, ปราชญ์, ท้าวพระยา, บาทบริจาริการัตนชายา, สมเด็จรามราชาธิราชบรมนารถบุตร, พระนุช, ศรีธรรมาโศกราช, อาจารย์, อินทรโฆรสราชบัณฑิต, รัชตะ, บาไปรียะ, พระมหาอานนท์, ปู่พระยาพ่อออก, ภัษฎราธิบดี, สมเด็จปู่พระยาพ่อออกแม่ออก, ญาติ, พระยาสามนตราช, เลือง, ต้นโพธิ, มะพร้าว, มะขามป้อม, ต้นพิกุล, มะม่วง, สมอ, บุนนาค, กากะทิง, สาระภี, กอปทุม, เมล็ดถั่ว, ทองคำ, แก้วผลึก, สังข์, เมล็ดพันธุ์ผักกาด, ดอกพิกุล, ข้าวเปลือก, ผ้าหนังสัตว์, ภิกษา, บาตร, จีวร, ไม้เท้า, ที่นอน, ข้าวสารสาลี, กระยาทาน, เมืองฉอด, เมืองพัล, ลุมบาจาย, ยโสธร, นครไทย, เชียงดง, เชียงทอง, ปกกาว, ศรีสัชชนาลัย, กรุงสุโขทัย, รัฐกาว, รัฐชวา, เมืองพระบาง, เมืองนครไทย, เมืองเพชรบูรณ์, เมืองไตรตรึงส์, เมืองเชียงทอง, เมืองนาคปุระ, เมืองเชียงแสน, แม่น้ำพิงค์, แม่น้ำโขง, เกาะลังกา, คู, กำแพง, สะพาน, เกาะสิงหล, แดนพัล, สาย, ริด, เมืองสุโขทัย, ท่งไชย, ทุ่งไชย, ฝั่งของ, ฝั่งโขง, เมืองพัน, ทุ่งชัย, พุทธศาสนา, พระชินศาสนา, ปุพพาราม, ห้องพระธาตุ, พระเจดีย์, พระวิหาร, พระพิหาร, พระอุโบสถ, อาราม, บูรพาราม, พระมหามณฑปเจดีย์, คันธวนวาส, พระพุทธเจดีย์, วัดอโสการาม, วัดศีลวิสุทธาวาส, การอภิเษก, ประดิษฐานพระมหาธาตุ, ประดิษฐานพระธาตุ, บรรจุพระธาตุ, สร้างศาลา, สถาปนาพระเถระ, บวช, ผนวช, บรรพชา, อุปสมบท, บำเพ็ญมหาทาน, ประดิษฐานพระเจดีย์, ประดิษฐานพระสถูป, ประดิษฐานพระพุทธรูป, กัลปนา, สัตว์โลก, ทศพลญาณ, ธรรม, อนันตญาณ, มาร, เสนามาร, โอฆะสงสาร, สรรพัญญุตญาณ, นรก, คนธชาติ, ราคะ, ศิลป, ธุรบัญญัติ, ทุกข์, ภพ, สุข, ธรรมนาวา, โมหะ, พระพุทธพจน์, พุทธธรรม, ศีล, ปัญญา, กุศลกรรมบท 10, กุศลกรรมบท 10, บุญ, ทักขิไณยบุคคล, พระรัตนตรัย, รัชสมบัติ, ทิศอุดร, ทิศอิสาน, ทิศทักษิณ, ทิศบูรพา, ทิศอาคเนย์, ทิศพายัพ, ปีฉลู, ปีมะโรง, มะโรงนักษัตร, วันพฤหัสบดี, ศีล, ยศ, ขัตติยา, พระรัตนตรัย, พระพุทธ, พระธรรม, พระธาตุ, ปาฏิหาริย์, พระพุทธรูป, พระไตรปิฎก, ที่นา, ทรัพย์, สมาธิ, ปัญญา, กุศล, วอกนักษัตร, ปีวอก, อาษาฒมาส, กลาศาสตร์, มูรฒรณรงค์, ฉลูนักษัตร, ปีฉลู, ราชสมบัติ, ออกใหม่, ปัญจพิธ, กัลญาณี, ญาณคัมถีร์, ศีลวัตร์, กรรม, กรยาการ, โกฏฐาส, พระราชกุศล, กระยาการ, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, เทิม มีเต็ม, ศิลปากร, เทิม มีเต็ม, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 7 : ประมวลจารึกที่พบในประเทศไทยและต่างประเทศ อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่อาคารหอพระสมุดวชิรญาณ หอสมุดแห่งชาติ, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-ประวัติศาสตร์สุโขทัย, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ประดิษฐานพระธาตุ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย-สมเด็จมหาธรรมราชาธิราช, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกที่อาคารหอพระสมุดวชิรญาณ หอสมุดแห่งชาติ, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-ประวัติศาสตร์สุโขทัย, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-ประดิษฐานพระธาตุ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย-สมเด็จมหาธรรมราชาธิราช, ที่อยู่ปัจจุบัน-พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ปทุมธานี, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, 2) ภาพถ่ายความละเอียดสูงจากการสำรวจภาคสนาม : ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, สำรวจเมื่อ 21 กุมภาพันธ์ 2566 |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (สำรวจข้อมูล 6 ตุลาคม 2566) |
พุทธศตวรรษ 20 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/254?lang=th |
9 |
จารึกวัดจุฬามณี |
ไทยอยุธยา |
1) กล่าวย้อนไปถึงครั้งสมเด็จพระบรมไตรโลกนารถทรงมีพระบรมราชโองการให้สร้างวัดจุฬามณี เพื่อทรงจำพรรษาขณะออกผนวช |
พล. 4, พล. 4, จารึกวัดจุฬามณี, พระบาทสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ, พระบาทสมเด็จพระนารายณ์มหาราช, พญาล้านช้าง, พญาเชียงใหม่, พระเจ้าติโลกราช, พญาหงสาวดี, หลวงสิทธิมหาดเล็ก, หมื่นราชสังฆการี, พระครูธรรมไตรโลกนารถราชมุนีสีลวิสุทธาจารย์, พระพิมลธรรม, วัดจุฬามณี, พระที่นั่งศรีสุริยาศอมรินทร์, อาราม, ผนวช, บวช, มหาภิเนษกรม, อัฐบริขาร, สงฆ์, รอยพระพุทธบาท, ข้าพระ, พระพุทธ, พระธรรม, พระสงฆ์, รัตนตรัย, นรก, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, โครงการฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย, ประสาร บุญประคอง, ประชุมจดหมายเหตุ สมัยอยุธยา ภาค 1, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23, อายุ-จารึก พ.ศ. 2224, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดจุฬามณี พิษณุโลก, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, เรื่อง-ประวัติและตำนาน-วัดจุฬามณี พิษณุโลก, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงศรีอยุธยา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงศรีอยุธยา-สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงศรีอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, บุคคล-สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ, บุคคล-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม, roman |
วัดจุฬามณี ตำบลท่าทอง อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก (สำรวจ 31 มกราคม 2554) |
พุทธศักราช 2224 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/675?lang=th |
10 |
จารึกพลับพลาจตุรมุข |
ไทยอยุธยา |
สาปแช่งผู้ที่จะคดโกงเอาของสงฆ์และข้าพระไป โดยขอให้ยักษ์ทั้งหลายมาเอาชีวิต อย่าให้ได้พบพระรัตนตรัย และตกนรกอเวจี ตอนท้ายบอกวันเดือนปีและศักราชซึ่งตรงกับ พ.ศ. 2301 |
จารึกพลับพลาจตุรมุข, อย. 8, อย. 8, หลักที่ 92 ศิลาจารึกอักษรและภาษาไทย, หลักที่ 92 ศิลาจารึกอักษรและภาษาไทย, พ.ศ. 2301, พุทธศักราช 2301, พ.ศ. 2301, พุทธศักราช 2301, จ.ศ. 1120, จุลศักราช 1120, พ.ศ. 1120, พุทธศักราช 1120, หินชนวนสีเขียว, แผ่นรูปสี่เหลี่ยม, พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติวังจันทรเกษม, จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, ไทย, กรุงศรีอยุธยา, สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร, เจ้าฟ้าดอกมะเดื่อ, ข้าพระ, มหาเถรเทวทัต, พระพุทธเจ้า, พระสงฆเจ้า, พุทธศาสนา, กัลปนา, พฤกษเทวดา, อารักษเทวดา, อากาศเทวดา, นรก, มหาเวจี, มหาอเวจี, กัลป, กัลป์, อนันตชาติ, บาป, กำม, กรรม, อเวจี, อนันตริยกรรม 5, อนันตริยกรรม 5, ปิตุฆาต, มาตุฆาตุ, โลหิตบาท, โลหิตุปปบาท, สังฆเภท, เทวดา, ท้าวเวสสุวรรณ, ยักษ์, สาตาคีรีย, เหมันตายักษ์, อาภัควยักษ์, จิตเสทธยักษ์, มากคบาทยักษ์, เวพัทธยักษ์, กามเสพปิทยักษ์, คินนุบาทยักษ์, กินนุบาท, ขันทยักษ์, บริวารยักษ์, ขันบาทยักษ์, พระรัตนตรัย, พระธรรมเจ้า, วันจันทร์, ปีขาล, สัมฤทธิศก, ฉ้อ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, อายุ-จารึก พ.ศ. 2301, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 24, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวนสีเขียว, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, เรื่อง-พิธีกรรมตามความเชื่อ-สาปแช่ง, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-นรก-สวรรค์, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม, roman |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม ตำบลหัวรอ อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (สำรวจเมื่อ 22-24 กุมภาพันธ์ 2565) |
พุทธศักราช 2301 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/670?lang=th |
11 |
จารึกที่เจดีย์วัดชุมพลนิกายาราม |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าอยู่หัว ทรงมีพระบรมราชโองการให้ปฏิสังขรณ์พระเจดีย์ 2 องค์อาคารต่างๆ และพระพุทธรูปในวัดชุมพลนิกายาราม รวมถึงบรรจุพระบรมธาตุ โดยมีการกล่าวถึงประวัติของเจดีย์ว่าสร้างในรัชกาลพระเจ้าปราสาททองและปฏิสังขรณ์ในรัชกาลพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ในสมัยอยุธยา |
ชื่อจารึก : "อย.34 ", หลักที่ 191 จารึกบนหินอ่อน, จารึกที่เจดีย์วัดชุมพลนิกายาราม, "อย.34 ", หลักที่ 191 จารึกบนหินอ่อนวัตถุจารึก : หินอ่อน สีเขียวลักษณะวัตถุ : แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าสถานที่พบ : วัดชุมพลนิกายาราม ตำบลบ้านเลน อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา อาณาจักร : สยาม, ไทย ราชวงศ์ : จักรียุคสมัย : รัตนโกสินทร์ บุคคล : พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 4, ร.4, พระเจ้าปราสาททอง, พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ, กรมขุนสุเรนทรพิทักษ์, รัชกาลที่ 4, ร.4สถานที่ : วัดชุมพลนิกายาราม ตำบลบ้านเลน อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, วัดโคกแสง, เกาะบางป่าอินทร์, เกาะบางปะอินศาสนา : พุทธ, พุทธภูมิ, โพธิญาณ, โพธิสัตว์, นฤพาน, นิพพานอื่นๆ : พระบรมธาตุ, เจดีย์, อุโบสถ, วิหาร, การเปรียญ, กุฎีเหตุการณ์สำคัญ : ปฏิสังขรณ์, ครองราชย์, ปราบดาภิเษก, สถาปนาอาราม |
วัดชุมพลนิกายาราม ตำบลบ้านเลน อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (สำรวจ 22-24 กุมภาพันธ์ 2565) |
พุทธศักราช 2406 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/854?lang=th |