โพสต์เมื่อ 10 ตุลาคม 2565
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของทุนสนับสนุนการวิจัยสำหรับพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น ในโครงการเทศกาลพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นครั้งที่ 1/2551
โพสต์เมื่อ 10 ตุลาคม 2565
เนื้อหาหลักของบทความชิ นนี แบ่งออกเป็น 5 ส่วน คือ 1) อาณานิคมกับวัฒนธรรมการสะสม และการจัดแสดงพิพิธภัณฑ์โดยประเทศเจ้าอาณานิคม เนื่องจากดินแดนอาณานิคมนั นกระจายอยู่ทั่วโลก และบริบทของอิทธิพลก็มีรูปแบบและประเด็นที่แตกต่างกันออกไป ผู้เขียนเลือกที่จะกล่าวถึงอิทธิพลที่ ปรากฏจากกรณีของดินแดนในประเทศอินโดนีเซียปัจจุบัน 2) ลัทธิบรรพศิลป์นิยม (Primitivism) และ บรรพศิลป์หรือศิลปะดั้งเดิม (Primitive Art) ศิลปะดั งเดิมมีความเกี่ยวพันอย่างลึกซึ งต่อความเข้าใจการ 3 น้าเสนอวัตถุชาติพันธุ์ในพิพิธภัณฑ์ตะวันตกนับตั งแต่ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 จนกระทั่งถึงปัจจุบัน และนับ ได้ว่าการนิยามวัตถุชาติพันธุ์ในฐานะศิลปะวัตถุนี เป็นมรดกที่หลงเหลือมาจากยุคอาณานิคม 3) การผลิต ใหม่ของภาพแทนทางวัฒนธรรม ส่วนนี จะกล่าวถึงข้อวิพากษ์ที่สืบต่อมาจากพิพิธภัณฑ์อาณานิคมในหัวข้อ แรก ซึ่งกล่าวถึงความขัดกันระหว่างภาพแทนของวัฒนธรรมที่ถูกสร้างขึ นโดยเจ้าอาณานิคม และยังคง หลงเหลืออยู่ในห้องจัดแสดงปัจจุบัน ในขณะที่ชุมชนที่อยู่นอกห้องจัดแสดงปฏิเสธที่จะด้ารงภาพลักษณ์ นั นไว้ในชุมชน การทบทวนนี เป็นกรณีตัวอย่างจากอินโดนีเซีย 4) การจัดแสดงของพิพิธภัณฑ์ในยุคหลัง อาณานิคม หัวข้อสุดท้ายจะทบทวนพิพิธภัณฑ์ในตะวันตกที่ปรับตัวตอบสนองต่อข้อวิพากษ์ในช่วงหลัง อาณานิคม ผู้เขียนน้าพิพิธภัณฑ์จ้านวน 3 แห่งมากล่าวถึงในส่วนนี คือ บริติชมิวเซียม ลิเวอร์พูลมิวเซียม ในสหราชอาณาจักร และบิชอปมิวเซียม ในฮาวาย สหรัฐอเมริกา และ 5) บทส่งท้าย ที่เป็นการเสนอแนะ แนวทางการจัดแสดงพิพิธภัณฑ์ชาติพันธุ์ในประเทศไทย
โพสต์เมื่อ 10 ตุลาคม 2565
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของทุนสนับสนุนการวิจัยสำหรับพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น ในโครงการเทศกาลพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นครั้งที่ 1/2551
โพสต์เมื่อ 10 ตุลาคม 2565
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของทุนสนับสนุนการวิจัยสำหรับพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นในประเทศไทย ปี 2547
โพสต์เมื่อ 07 สิงหาคม 2565
รายงานการวิจัยนี้เป็นส่วนหนึ่งภายใต้โครงการวิจัยและกิจกรรมงานด้านพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นของกองทุนวิจัยฯ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) ปีงบประมาณ 2555-2556
โพสต์เมื่อ 12 กรกฎาคม 2565
รายงานโครงการวิจัย ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นเพื่อเป็นฐานความรู้ทางสังคม-วัฒนธรรม ที่จะนำไปจัดตั้งพิพิธภัณฑ์บ้านแพรก จังหวัดพระนครศรีอยุธยา นี้ เป็นการพยายามดำเนินการรวบรวมข้อมูลศึกษาและวิเคราะห์เรื่องประวัติศาสตร์ท้องถิ่นโดยคนท้องถิ่น เพื่อเรียนรู้และเข้าใจตนเองเกี่ยวกับความเป็นมา ภูมิปัญญาท้องถิ่นของคนรุ่นเก่าเพื่อสร้างจิตสำนึกและความภูมิใจให้เกิดขึ้นกับคนในท้องถิ่น
โพสต์เมื่อ 12 กรกฎาคม 2565
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของทุนสนับสนุนการวิจัยสำหรับพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น ในโครงการเทศกาลพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นครั้งที่ 1/2551
โพสต์เมื่อ 12 กรกฎาคม 2565
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของทุนสนับสนุนการวิจัยสำหรับพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น ในโครงการเทศกาลพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นครั้งที่ 1/2551
โพสต์เมื่อ 12 กรกฎาคม 2565
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของทุนสนับสนุนการวิจัยสำหรับพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นในประเทศไทย ปี 2545
โพสต์เมื่อ 12 กรกฎาคม 2565
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจัยและพัฒนาพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น: ระยะที่ 2 จัดทำฐานข้อมูลพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น (มิถุนายน 2550) เสนอต่อสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
โพสต์เมื่อ 12 กรกฎาคม 2565
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจัยและพัฒนาพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น: ระยะที่ 2 ปีที่ 1 วิจัยและพัฒนาพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น: กรณีศึกษา (มิถุนายน 2549)
โพสต์เมื่อ 12 กรกฎาคม 2565
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจัยและพัฒนาพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น: ระยะที่ 1 สร้างเครือข่ายและสำรวจสภาพพิพิธภัณฑ์ (มิถุนายน 2547) เสนอต่อสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย(สกว.)
โพสต์เมื่อ 16 มิถุนายน 2565
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของทุนสนับสนุนการวิจัยสำหรับพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นในประเทศไทย ปี 2545
โพสต์เมื่อ 12 มกราคม 2565
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของทุนสนับสนุนการวิจัยสำหรับพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น ในโครงการเทศกาลพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นครั้งที่ 1/2551