หนังสือ

พิพิธภัณฑ์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมของมาเลเซีย

ชื่อผู้แต่ง : เทียมสูรย์ สิริศรีศักดิ์ และชีวสิทธิ์ บุณยเกียรติ

ปีที่พิมพ์ : 2020

ISBN 978-616-7154-90-9

Museums, History and Culture in Malaysia(2014) เขียนโดย Abu Talib Ahmad, ศาสตราจารย์ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่คณะมนุษยศาสตร์ แห่ง Universiti Sains Malaysia (USM).จัดพิมพ์โดย National University of Singapore (NUS) Press แปลเป็นไทยในชื่อ “พิพิธภัณฑ์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมของมาเลเซีย”

ดาวน์โหลด

พิพิธภัณฑ์และมรดกวัฒนธรรม

ชื่อผู้แต่ง : พิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ

ปีที่พิมพ์ : 2020

ISBN 978-616-7154-91-6

รวมบทความคัดสรรจากประชุมวิชาการพิพิธภัณฑ์และมรดกวัฒนธรรม ครั้งที่ 1 จัดขึ้น ณ พิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์  

ดาวน์โหลด

พิพิธภัณฑ์บ้าน คุณค่าและความหมาย

ชื่อผู้แต่ง : ชีวสิทธิ์ บุณยเกียรติ และปณิตา สระวาสี

ปีที่พิมพ์ : 2018

ISBN 978-616-7154-71-8

พัฒนาการของพิพิธภัณฑ์บ้านเกิดขึ้นในหลายช่วงเวลา พิพิธภัณฑ์เหล่านั้นเคยเป็นสถานที่พำนักของบุคคลในหลายสถานะ หลายบทบาท และในเวลาต่อมาลูกหลาน นักวิชาชีพพิพิธภัณฑ์  เล็งเห็นความสำคัญ จนพัฒนาเป็นพิพิธภัณฑ์และจัดตั้งเป็นแหล่งเรียนรู้ให้แก่สังคม

ดาวน์โหลด

มรดกวัฒนธรรมที่ไม่เป็นกายภาพกับพิพิธภัณฑ์ : มุมมองใหม่ในการอนุรักษ์

ชื่อผู้แต่ง : มาริเลน่า อลิวิซาโต

ปีที่พิมพ์ : 2018

ISBN 978-616-7154-63-3

หนังสืออาศัยข้อมูลจากการทำงานภาคสนามของผู้เขียน โดยให้ความสำคัญกับพิพิธภัณฑสถานในฐานะสถาบันทางวัฒนธรรมที่ทำหน้าอย่างใกล้ชิดกับสังคม ผู้เขียนคัดเลือกกรณีศึกษาที่น่าสนใจ โดยตั้งคำถามเกี่ยวกับแนวคิดและปฏิบัติการที่พิพิธภัณฑสถานแห่งต่าง ๆ พัฒนากระบวนการในการจัดการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมกับสิ่งสะสมต่าง ๆ ของพิพิธภัณฑสถาน

ดาวน์โหลด

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ: บทเรียนจากประเทศเพื่อนบ้าน

ชื่อผู้แต่ง : สุดแดน วิสุทธิลักษณ์

ปีที่พิมพ์ : 2017

ISBN 978-616-7154-58-9

หนังสือเล่มนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม(ICH) ตามอนุสัญญาว่าด้วยการสงวนรักษามรดกวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ พ.ศ. 2546 ของยูเนสโก

ดาวน์โหลด

คนทำพิพิธภัณฑ์

ชื่อผู้แต่ง : ชีวสิทธิ์ บุณยเกียรติ (บรรณาธิการ)

ปีที่พิมพ์ : 2014

ISBN 978-616-7454-25-1

ข้อเขียนที่เกี่ยวกับพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นในประเทศไทย อาจมีมาก่อนหน้านี้แล้ว แต่เนื้อหาของ "คนทำพิพิธภัณฑ์" เป็นมุมมองของคนทำพิพิธภัณฑ์ ซึ่งอาจเรียกได้ว่า เป็นตัวแทนของชุมชน จึงเป็น "เสียง" จากคนข้างใน มิใช่การพูดแทนดดยนักวิชาการหรือผู้เชี่ยวชาญจากภายนอก จึงเป็นเสียงหนึ่งของการปฏิบัติการพิพิธัณฑ์แนวใหม่ ที่เล่าโดยผู้ปฏิบัติเองซึ่งยังไม่มีการรวบรวมมาก่อน - ดร. ปริตตา เฉลิมเผ่า กออนันตกูล

ดาวน์โหลด

Re-Collection # 2 ย้อนทวนความหมายของ(ไม่)ธรรมดา

ชื่อผู้แต่ง : นวลพรรณ บุญธรรม และนุชจรี ใจเก่ง(บรรณาธิการ)

ปีที่พิมพ์ : 2016

ISBN 978-616-7154-46-6

บทบันทึกว่าด้วยเรื่องราวและคุณค่าของวัตถุชุดหนึ่งที่มีความสัมพันธ์กับชีวิตผู้คน ช่วงเวลา และพื้นที่ โดยเป็นการทำงานร่วมกันระหว่างศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร เครือข่ายพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น และเครือช่ายชุมชนท้องถิ่น เพื่อส่งเสริมให้เครือข่ายพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นสร้างกระบวนการจัดการความรู้ในพิพิธภัณฑ์ของตน โดยใช้วัตถุในพิพิธภัณฑ์เป็นสื่อในการสร้างกระบวนการร้อยเรื่องเล่า หนังสือได้แสดงให้เห็นการทบทวนและตีความวัตถุธรรมดาสามัญที่มีในพิพิธภัณฑ์ ทำให้เกิดมุมมองใหม่ต่อวัตถุหนึ่งชิ้น แต่ขยายขอบเขตการสร้างความรู้ใหม่ อีกมากมาย

ดาวน์โหลด

Re-Collection # 1 ย้อนทวนความหมายของ(ไม่)ธรรมดา

ชื่อผู้แต่ง : นวลพรรณ บุญธรรม และนุชจรี ใจเก่ง(บรรณาธิการ)

ปีที่พิมพ์ : 2016

ISBN 978-616-7154-45-9

บทบันทึกว่าด้วยเรื่องราวและคุณค่าของวัตถุชุดหนึ่งที่มีความสัมพันธ์กับชีวิตผู้คน ช่วงเวลา และพื้นที่ โดยเป็นการทำงานร่วมกันระหว่างศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร เครือข่ายพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น และเครือช่ายชุมชนท้องถิ่น เพื่อส่งเสริมให้เครือข่ายพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นสร้างกระบวนการจัดการความรู้ในพิพิธภัณฑ์ของตน โดยใช้วัตถุในพิพิธภัณฑ์เป็นสื่อในการสร้างกระบวนการร้อยเรื่องเล่า หนังสือได้แสดงให้เห็นการทบทวนและตีความวัตถุธรรมดาสามัญที่มีในพิพิธภัณฑ์ ทำให้เกิดมุมมองใหม่ต่อวัตถุหนึ่งชิ้น แต่ขยายขอบเขตการสร้างความรู้ใหม่ อีกมากมาย

ดาวน์โหลด

"ศรัทธา สักการะ" ความเชื่อ ภูมิปัญา สู่วิถีล้านนา

ชื่อผู้แต่ง : ศูนย์มานุษยาวิทยาสิรินธร

ปีที่พิมพ์ : 2019

ISBN 978-616-7154-85-5

ศมส.ร่วมกับเครือข่ายพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นล้านนา จัดงานมหกรรมพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นล้านนาในหัวข้อ "ศรัทธา สักการะ" ความเชื่อ ภูมิปัญา สู่วิถีล้านนา เมื่อปี พ.ศ. 2559  ข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับวัตถุสิ่งของที่นำมาจัดแสดงในงานา ได้รับการบันทึกและรวบรวมโดยชาวเครือข่ายพิพิธภัณฑ์ แ ละนำมาจัดพิมพ์เป็นหนังสือเพื่อเผยแพร่ในวงกว้าง

ดาวน์โหลด

ภูมิรู้ สู้ วิกฤต

ชื่อผู้แต่ง : นุชจรี ใจเก่ง (บรรณาธิการ)

ปีที่พิมพ์ : 2012

ISBN 978-616-7154-16-9

ภูมิรู้สู้วิกฤตเป็น หนังสือในชุดพิพิธภัณฑ์ ที่เกิดขึ้นจากงานเทศกาลพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น ครั้งที่ 3 ที่ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร(องค์การมหาชน) จัดขึ้นเมื่อวันที่ 23-27 พฤศจิกายน 2555 ในหัวข้อ “ภูมิรู้สู้กฤต"  มีพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นมาเข้าร่วมจัดงาน 68 แห่ง จากทั่วประเทศ  เป้าหมายสำคัญคือ ปรารถนาที่จะแสดงให้เห็นความหลากหลายของความรู้ในสังคมไทย ทั้งที่อยู่ในตัวคน ชุมชน ธรรมชาติ และวัฒนธรรม ที่ท้องถิ่นนำมาใช้จัดการกับปัญหาที่ต้องเผชิญ

ดาวน์โหลด