ห้องจดหมายเหตุแผนที่และผังแม่บท มหาวิทยาลัยมหิดล


ห้องจดหมายเหตุแผนที่และผังแม่บท เป็นที่รวบรวมและจัดเก็บเอกสานจดหมายเหตุแผนที่และผังแม่บท และจัดแสดงประวัติพัฒนาการด้านกายภาพของมหาวิทยาลัยมหิดล แบ่งเนื้อหาการจัดแสดงออกเป็น 4 พื้นที่ 1. พัฒนาการที่ไม่หยุดนิ่ง 2. สองวิทยาเขตรุ่นบุกเบิกมหิดล 3. มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา: ศูนย์รวมประชาคมมหิดล 4. มุ่งขยายการศึกษาสู่ภูมิภาค 3 แห่ง ได้แก่ วิทยาเขตกาญจนบุรี วิทยาเขตนครสวรรค์ และวิทยาเขตอำนาจเจริญ 5. ความสัมพันธ์ของวิทยาเขตต่าง ๆ กับสภาพแวดล้อมและชุมชนโดยรอบ

ที่อยู่:
งานบริหารจดหมายเหตุ ชั้น 3 หอสมุดและคลังความรู้ มหาวิทยาลัยมหิดล ถ.พุทธมณฑลสาย 4 ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม 73170
โทรศัพท์:
0-2800-2680-9 ต่อ 4346
วันและเวลาทำการ:
จันทร์-ศุกร์ 8.30-16.30 น.
ค่าเข้าชม:
ไม่เสียค่าเข้าชม
อีเมล:
muarms@mahidol.ac.th
ปีที่ก่อตั้ง:
2554
จัดการโดย:

โดย:

วันที่: 10 กุมภาพันธ์ 2555

โดย:

วันที่: 10 กุมภาพันธ์ 2555

โดย:

วันที่: 10 กุมภาพันธ์ 2555

โดย:

วันที่: 10 กุมภาพันธ์ 2555

โดย:

วันที่: 10 กุมภาพันธ์ 2555

โดย:

วันที่: 10 กุมภาพันธ์ 2555

โดย:

วันที่: 10 กุมภาพันธ์ 2555

โดย:

วันที่: 10 กุมภาพันธ์ 2555

ไม่มีข้อมูล
ไม่มีข้อมูล
ไม่มีข้อมูล

ไม่มีข้อมูล

รีวิวของห้องจดหมายเหตุแผนที่และผังแม่บท มหาวิทยาลัยมหิดล

“ห้องจดหมายเตุแผนที่และผังแม่บท” เป็นที่รวบรวมและจัดเก็บเอกสานจดหมายเหตุแผนที่และผังแม่บท และจัดแสดงประวัติพัฒนาการด้านกายภาพของมหาวิทยาลัยมหิดล โดยใช้แนวคิดเรื่อง “ธาตุ” สื่อถึงองค์ประกอบหลักที่จะทำให้ดินอุดมสมบูรณ์ ซึ่งก็คือหลักฐานของความเป็นมาในการเกิดขึ้นทางกายภาพ ห้องจดหมายเตุแผนที่และผังแม่บท แบ่งเนื้อหาการจัดแสดงออกเป็น 4 พื้นที่

1. “พัฒนาการที่ไม่หยุดนิ่ง” แสดงภาพรวมของการขยายตัวทางกายภาพที่ไม่หยุดนิ่งของมหาวิทยาลัยมหิดลเขตพื้นที่ต่างๆ

2. “สองวิทยาเขตรุ่นบุกเบิกมหิดล” แสดงประวัติพัฒนาการทางกายภาพของมหาวิทยาลัยมหิดล 2 เขตพื้นที่ ได้แก่ บางกอกน้อย และพญาไท ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน

3. “มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา: ศูนย์รวมประชาคมมหิดล” แสดงประวัติพัฒนาการทางกายภาพของมหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา ซึ่งเป็นศูนย์กลางของสถาบันและเป็นศูนย์รวมของชาวมหิดลตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน

4. “มุ่งขยายการศึกษาสู่ภูมิภาค” แสดงประวัติพัฒนาการทางกายภาพของวิทยาเขตในส่วนภูมิภาค 3 แห่ง ได้แก่ วิทยาเขตกาญจนบุรี วิทยาเขตนครสวรรค์ และวิทยาเขตอำนาจเจริญ

5. “ความสัมพันธ์ของวิทยาเขตต่างๆ กับสภาพแวดล้อมและชุมชนโดยรอบ” แสดงความสัมพันะทางกายภาพระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดลเขตพื้นที่ต่างๆ กับชุมชนโดยรอบ ทั้งการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สงัคม และผลกระทบด้านกายภาพ

ที่มา: เอกสารนำชม ห้องจดหมายเตุแผนที่และผังแม่บท
ชื่อผู้แต่ง:
-
คำสำคัญ:
-
ไม่มีข้อมูล
คำสำคัญ:
-