เมืองโบราณ เป็นพิพิธภัณฑ์ที่จำลองสถานที่ต่าง ๆ มาไว้ในพื้นที่กว่า 800 ไร่ เริ่มก่อสร้างในปี 2506 โดยคุณเล็ก วิริยะพันธุ์ และเปิดให้บริการในปี 2515 ลักษณะที่ดินมีผังบริเวณคล้ายรูปขวาน และได้มีการจัดจำลองสถานที่ทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมที่สำคัญของประเทศในทุคภาค โดยจัดวางตามผังที่ดิน ซึ่งมีทั้งโบราณสถาน ปูชนียสถาน วัดโบราณ พระราชวัง ตลาดน้ำ ตลาดบก เป็นต้น ประกอบไปด้วยอาคารที่สร้างจำลองขึ้นใหม่ และอาคารจริงที่ย้ายมาตั้งไว้ภายในพื้นที่ นอกจากนี้ภายในเมืองโบราณยังมีที่พัก ชื่อว่า นครริมขอบฟ้า ไว้ให้บริการอีกด้วย
โดย:
วันที่: 10 กุมภาพันธ์ 2555
โดย:
วันที่: 10 กุมภาพันธ์ 2555
โดย:
วันที่: 10 กุมภาพันธ์ 2555
โดย:
วันที่: 10 กุมภาพันธ์ 2555
โดย:
วันที่: 10 กุมภาพันธ์ 2555
โดย:
วันที่: 10 กุมภาพันธ์ 2555
โดย:
วันที่: 10 กุมภาพันธ์ 2555
โดย:
วันที่: 10 กุมภาพันธ์ 2555
โดย:
วันที่: 10 กุมภาพันธ์ 2555
โดย:
วันที่: 10 กุมภาพันธ์ 2555
ชื่อผู้แต่ง: | ปีที่พิมพ์: ปีที่3 ฉบับที่ 1 ต.ค. - ธ.ค. 2519
ที่มา: เมืองโบราณ
แหล่งค้นคว้า: ศมส.
โดย: ศมส.
วันที่: 13 มีนาคม 2555
ชื่อผู้แต่ง: | ปีที่พิมพ์: ปีที่4 ฉบับที่ 1 ต.ค. - ธ.ค. 2520
ที่มา: เมืองโบราณ
แหล่งค้นคว้า: ศมส.
โดย: ศมส.
วันที่: 13 มีนาคม 2555
ชื่อผู้แต่ง: | ปีที่พิมพ์: ปีที่4 ฉบับที่ 2 ม.ค. - มี.ค. 2521
ที่มา: เมืองโบราณ
แหล่งค้นคว้า: ศมส.
โดย: ศมส.
วันที่: 13 มีนาคม 2555
ชื่อผู้แต่ง: | ปีที่พิมพ์: ปีที่4 ฉบับที่ 3 เม.ย. - มิ.ย. 2521
ที่มา: เมืองโบราณ
แหล่งค้นคว้า: ศมส.
โดย: ศมส.
วันที่: 13 มีนาคม 2555
ชื่อผู้แต่ง: | ปีที่พิมพ์: ปีที่4 ฉบับที่ 4 ก.ค. - ก.ย. 2521
ที่มา: เมืองโบราณ
แหล่งค้นคว้า: ศมส.
โดย: ศมส.
วันที่: 13 มีนาคม 2555
ชื่อผู้แต่ง: | ปีที่พิมพ์: ปีที่3 ฉบับที่ 2 ม.ค. - มี.ค. 2520
ที่มา: เมืองโบราณ
แหล่งค้นคว้า: ศมส.
โดย: ศมส.
วันที่: 13 มีนาคม 2555
ชื่อผู้แต่ง: | ปีที่พิมพ์: ปีที่3ฉบับที่ 4 ก.ค. - ก.ย. 2520
ที่มา: เมืองโบราณ
แหล่งค้นคว้า: ศมส.
โดย: ศมส.
วันที่: 13 มีนาคม 2555
ชื่อผู้แต่ง: บังอร กรโกวิท | ปีที่พิมพ์: ปีที่5ฉบับที่ 1 ต.ค. - พ.ย. 2521
ที่มา: เมืองโบราณ
แหล่งค้นคว้า: ศมส.
โดย: ศมส.
วันที่: 13 มีนาคม 2555
ชื่อผู้แต่ง: บังอร กรโกวิท | ปีที่พิมพ์: ปีที่5ฉบับที่ 2 ธ.ค. 2521 - ม.ค. 2522
ที่มา: เมืองโบราณ
แหล่งค้นคว้า: ศมส.
โดย: ศมส.
วันที่: 13 มีนาคม 2555
ชื่อผู้แต่ง: บังอร กรโกวิท | ปีที่พิมพ์: ปีที่5ฉบับที่ 3 ก.พ. - มี.ค. 2522
ที่มา: เมืองโบราณ
แหล่งค้นคว้า: ศมส.
โดย: ศมส.
วันที่: 13 มีนาคม 2555
ชื่อผู้แต่ง: ศรีศักร วัลลิโภดม | ปีที่พิมพ์: ปีที่ 18 ฉลับ 3 (ก.ย. 2517)
ที่มา: ศิลปากร
แหล่งค้นคว้า: ศมส.
โดย: ศมส.
วันที่: 13 มีนาคม 2555
ชื่อผู้แต่ง: สมพงษ์ ทิมแจ่มใส | ปีที่พิมพ์: ปีที่13ฉบับที่ 1 ม.ค. - มี.ค. 2530
ที่มา: เมืองโบราณ
แหล่งค้นคว้า: ศมส.
โดย: ศมส.
วันที่: 13 มีนาคม 2555
ชื่อผู้แต่ง: แสงอรุณ กนกพงศ์ชัย | ปีที่พิมพ์: ปีที่10 ฉบับที่ 1 ม.ค. - มี.ค. 2527
ที่มา: เมืองโบราณ
แหล่งค้นคว้า: ศมส.
โดย: ศมส.
วันที่: 13 มีนาคม 2555
ชื่อผู้แต่ง: แสงอรุณ กนกพงศ์ชัย | ปีที่พิมพ์: ปีที่10 ฉบับที่ 2 เม.ย. - มิ.ย. 2527
ที่มา: เมืองโบราณ
แหล่งค้นคว้า: ศมส.
โดย: ศมส.
วันที่: 13 มีนาคม 2555
ชื่อผู้แต่ง: แสงอรุณ กนกพงศ์ชัย | ปีที่พิมพ์: ปีที่10 ฉบับที่ 3 ก.ค. - ก.ย. 2527
ที่มา: เมืองโบราณ
แหล่งค้นคว้า: ศมส.
โดย: ศมส.
วันที่: 13 มีนาคม 2555
ชื่อผู้แต่ง: แสงอรุณ กนกพงศ์ชัย | ปีที่พิมพ์: ปีที่11 ฉบับที่ 2 เม.ย. - มิ.ย. 2528
ที่มา: เมืองโบราณ
แหล่งค้นคว้า: ศมส.
โดย: ศมส.
วันที่: 13 มีนาคม 2555
ชื่อผู้แต่ง: แสงอรุณ กนกพงศ์ชัย | ปีที่พิมพ์: ปีที่11 ฉบับที่ 4 ต.ค. - ธ.ค. 2528
ที่มา: เมืองโบราณ
แหล่งค้นคว้า: ศมส.
โดย: ศมส.
วันที่: 13 มีนาคม 2555
ชื่อผู้แต่ง: แสงอรุณ กนกพงศ์ชัย | ปีที่พิมพ์: ปีที่13 ฉบับที่ 2 เม.ย. - มิ.ย. 2530
ที่มา: เมืองโบราณ
แหล่งค้นคว้า: ศมส.
โดย: ศมส.
วันที่: 13 มีนาคม 2555
ชื่อผู้แต่ง: แสงอรุณ กนกพงศ์ชัย | ปีที่พิมพ์: ปีที่13 ฉบับที่ 3 ก.ค. - ก.ย. 2530
ที่มา: เมืองโบราณ
แหล่งค้นคว้า: ศมส.
โดย: ศมส.
วันที่: 13 มีนาคม 2555
ชื่อผู้แต่ง: แสงอรุณ กนกพงศ์ชัย | ปีที่พิมพ์: ปีที่13 ฉบับที่ 4 ต.ค. - ธ.ค. 2530
ที่มา: เมืองโบราณ
แหล่งค้นคว้า: ศมส.
โดย: ศมส.
วันที่: 13 มีนาคม 2555
ชื่อผู้แต่ง: แสงอรุณ กนกพงศ์ชัย | ปีที่พิมพ์: ปีที่12 ฉบับที่ 1 ม.ค. - มี.ค. 2529
ที่มา: เมืองโบราณ
แหล่งค้นคว้า: ศมส.
โดย: ศมส.
วันที่: 13 มีนาคม 2555
ชื่อผู้แต่ง: แสงอรุณ กนกพงศ์ชัย | ปีที่พิมพ์: ปีที่12 ฉบับที่ 4 ต.ค. - ธ.ค. 2529
ที่มา: เมืองโบราณ
แหล่งค้นคว้า: ศมส.
โดย: ศมส.
วันที่: 13 มีนาคม 2555
ชื่อผู้แต่ง: แสงอรุณ กนกพงศ์ชัย | ปีที่พิมพ์: ปีที่11 ฉบับที่ 3 ก.ค. - ก.ย. 2528
ที่มา: เมืองโบราณ
แหล่งค้นคว้า: ศมส.
โดย: ศมส.
วันที่: 13 มีนาคม 2555
ชื่อผู้แต่ง: แสงอรุณ กนกพงศ์ชัย | ปีที่พิมพ์: ปีที่14 ฉบับที่ 3 ก.ค. - ก.ย. 2531
ที่มา: เมืองโบราณ
แหล่งค้นคว้า: ศมส.
โดย: ศมส.
วันที่: 13 มีนาคม 2555
ชื่อผู้แต่ง: สุดจิต (เศวตจินดา) สนั่นไหว | ปีที่พิมพ์: 21-12-2551
ที่มา: เดลินิวส์
แหล่งค้นคว้า: ศมส.
โดย: ศมส.
วันที่: 13 มีนาคม 2555
แนะนำพิพิธภัณฑ์โดยทีมงานและสมาชิก
รีวิวของเมืองโบราณ
เมืองโบราณ ก่อตั้งขึ้นด้วยความตั้งใจและความอุตสาหะวิริยะ ของคุณเล็ก วิริยะพันธุ์ นักธุรกิจผู้มีใจรักในศิลปวัฒนธรรม เมืองโบราณเป็นพิพิธภัณฑ์กลางแจ้งระดับโลกบนพื้นที่ 800 ไร่ เริ่มก่อสร้างในปี 2506 เดิมทีเดียวจัดทำแบบง่าย ๆ โดยจำลองสถานที่สำคัญของแต่ละจังหวัดลงไป จากนั้นคุณเล็กค้นคว้าหาข้อมูล เชิญนักวิชาการผู้รู้ทางศิลปะและวัฒนธรรมเข้ามา คุณเล็กออกเดินทางสำรวจท้องถิ่นต่าง ๆ สัมผัสกับสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติและนิเวศวัฒนธรรมของผู้คนในท้องถิ่น จนเกิดการเรียนรู้และเข้าใจ ทำให้เปลี่ยนความคิดมาทำเป็นเมืองจริงๆ ขึ้นมา แต่เป็นเมืองโบราณ อาคารบางหลังได้ขอผาติกรรมมาเพราะท้องถิ่นไม่มีกำลังดูแล และบางหลังก็ถูกรื้อถอนเพื่อสร้างหลังใหม่ เช่น วิหารวัดจองคำ จ.ลำปาง พระวิหารวัดพร้าว จ.ตากนอกจากนี้การเข้าใจความเป็นตลาดและชุมชนก็เป็นแรงบันดาลใจให้สร้างตลาดน้ำและตลาดบกในเมืองโบราณ บ้างก็สร้างขึ้นใหม่ด้วยการศึกษารูปแบบเดิมที่เหลืออยู่ เช่น พระที่นั่งสรรเพชญปราสาท ซึ่งเป็นสถาปัตยกรรมสมัยอยุธยา จากนั้นได้สร้างพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาทที่ซึ่งรวบรวมฝีมือช่างแห่งกรุงรัตนโกสินทร์เอาไว้ เมืองโบราณไม่เพียงนำเสนอแค่ความเป็นรูปธรรม แต่ยังสะท้อนเรื่องนามธรรม เห็นได้จากการสร้างเทวโลก อันเป็นคติความเชื่อทางศาสนาพราหมณ์ บริเวณปลายนามีศาลาพระกวนอิม
นอกจากนี้ยังมีการจัดสวนวรรณคดี เช่น สวนรามเกียรติ์ สวนพระอภัยมณี สวนไกรทอง สิ่งที่สร้างขึ้นล้วนสะท้อนความคิดทั้งสิ้น อาทิ การจินตนาการคติธรรมจากจิตกรรมฝาผนังและวรรณกรรมจากโคลงกลอนมาแสดงให้เห็นอย่างตำนานเขาพระสุเมรุ ขบวนเรือพยุหยาตราทางชลมารค และศาลาฤาษีดัดตน ปัจจุบันมีโบราณสถาน (จำลอง) ทั้งสิ้นถึง 112 แห่ง (พ.ศ.2546) และยังสร้างเพิ่มเติมสืบมาแม้คุณเล็กจะล่วงลับไปแล้ว ทำให้พิพิธภัณฑ์กลางแจ้งแห่งนี้มีสิ่งใหม่ๆ ให้ชมอยู่เสมอ ตลอดเส้นทางผู้เข้าชมจะได้สัมผัสอลังการแห่งสถาปัตยกรรม ศิลปกรรม และทึ่งในภูมิปัญญาของบรรพบุรุษไทยในยุคสมัยต่างๆ พร้อมได้เรียนรู้วิถีชีวิตที่สามารถถ่ายทอดออกมาได้ดูราวกับมีชีวิตจริง
ข้อมูลจาก :
1. จดหมายข่าวมูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 57 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2548.
2.. สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์. 174 มรดกสถาปัตยกรรมในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พลับบลิชชิ่งจำกัด (มหาชน), 2547.
3. แปลน รีดเดอร์ส. 100 พิพิธภัณฑ์กรุงเทพฯ-ปริมณฑล: โลกกว้างอยู่ไม่ไกล. กรุงเทพฯ : แปลนพริ้นติ้งแอนด์พับลิงชิ่ง, 2546. หน้า 120.
แนะนำพิพิธภัณฑ์โดยสื่อออนไลน์
แนะนำพิพิธภัณฑ์โดยบล็อก
แนะนำพิพิธภัณฑ์โดยสารานุกรมไทย
งานอนุรักษ์สถาปัตยกรรม วิถีชีวิตท้องถิ่นและภูมิปัญญา พระที่นั่ง เรือนไทย วรรณคดี ตลาด วิหาร ความเชื่อทางศาสนา ขบวนเรือพยุหยาตราทางชลมารค
พิพิธภัณฑ์หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
จ. สมุทรปราการ
ศูนย์วัฒนธรรมชุมชนมุสลิม-มลายู บ้านปากลัด
จ. สมุทรปราการ
อุทยานประวัติศาสตร์ทหารเรือ ป้อมพระจุลจอมเกล้า
จ. สมุทรปราการ