โดย:
วันที่: 10 กุมภาพันธ์ 2555
โดย:
วันที่: 10 กุมภาพันธ์ 2555
โดย:
วันที่: 10 กุมภาพันธ์ 2555
โดย:
วันที่: 10 กุมภาพันธ์ 2555
โดย:
วันที่: 10 กุมภาพันธ์ 2555
โดย:
วันที่: 10 กุมภาพันธ์ 2555
ชื่อผู้แต่ง: | ปีที่พิมพ์: 1/12/2546
ที่มา: มติชนรายวัน
แหล่งค้นคว้า: ศมส.
โดย: ศมส.
วันที่: 13 มีนาคม 2555
ชื่อผู้แต่ง: | ปีที่พิมพ์: 6/13/2545
ที่มา: -
แหล่งค้นคว้า: ศมส.
โดย: ศมส.
วันที่: 13 มีนาคม 2555
ชื่อผู้แต่ง: | ปีที่พิมพ์: 09/02/2546
ที่มา: กรุงเทพธุรกิจ
แหล่งค้นคว้า: ศมส.
โดย: ศมส.
วันที่: 13 มีนาคม 2555
ชื่อผู้แต่ง: | ปีที่พิมพ์: 7/28/2546
ที่มา: -
แหล่งค้นคว้า: ศมส.
โดย: ศมส.
วันที่: 13 มีนาคม 2555
ชื่อผู้แต่ง: ยุวดี มณีกุล | ปีที่พิมพ์: 4/24/2546
ที่มา: กรุงเทพธุรกิจ จุดประกาย
แหล่งค้นคว้า: ศมส.
โดย: ศมส.
วันที่: 13 มีนาคม 2555
ชื่อผู้แต่ง: สว่าง เลิศฤทธิ์ | ปีที่พิมพ์: 2/16/2546
ที่มา: กรุงเทพธุรกิจ
แหล่งค้นคว้า: ศมส.
โดย: ศมส.
วันที่: 13 มีนาคม 2555
ชื่อผู้แต่ง: สว่าง เลิศฤทธิ์ | ปีที่พิมพ์: 2/23/2546
ที่มา: กรุงเทพธุรกิจ
แหล่งค้นคว้า: ศมส.
โดย: ศมส.
วันที่: 13 มีนาคม 2555
ชื่อผู้แต่ง: สายันต์ ไพรชาญจิตร์ | ปีที่พิมพ์: 2550
ที่มา: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า
แหล่งค้นคว้า: ศมส.
โดย: ศมส.
วันที่: 13 มีนาคม 2555
ชื่อผู้แต่ง: สุรพล นาถะพินทุ | ปีที่พิมพ์: ปีที่ 3 ฉบับ 5 (ม.ค.-มิ.ย. 2547)
ที่มา: ดำรงวิชาการ
แหล่งค้นคว้า: ศมส.
โดย: ศมส.
วันที่: 13 มีนาคม 2555
ชื่อผู้แต่ง: ยุภาพร ธัญวิวัฒน์กุล | ปีที่พิมพ์: 2551;2008
ที่มา: รายงานทุนสนับสนุนการวิจัยสำหรับพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น โครงการเทศกาลพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นครั้งที่ 1/2551
แหล่งค้นคว้า:
โดย: ศมส.
วันที่: 11 พฤศจิกายน 2556
แนะนำพิพิธภัณฑ์โดยทีมงานและสมาชิก
รีวิวของพิพิธภัณฑสถานชุมชนโป่งมะนาว
การพัฒนาแหล่งขุดค้นทางโบราณคดีบ้านโป่งมะนาว กระทำโดยต่อเนื่อง ด้วยมีชมรมอนุรักษ์แหล่งโบราณสถานและทรัพยากรธรรมชาติตำบลห้วยขุนราม เป็นผู้ดำเนินการและประสานงานมาโดยตลอด โดยเฉพาะการจัดหาเงินทุนซึ่งเป็นส่วนสำคัญในการทำงานได้อย่างต่อเนื่อง ทางชมรมฯ เป็นผู้จัดหาทุนมาดำเนินสนับสนุนการขุดค้นและพัฒนาให้เป็นแหล่งเรียนรู้และท่องเที่ยว โดยขอเงินสนับสนุนจากองค์การบริหารส่วนตำบลห้วยขุนราม กองทุนพัฒนาสังคม(SIF) การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย และบริษัทห้างร้านต่าง ๆ เป็นต้น
จากนั้นในปี 2544 ชุมชนห้วยขุนรามร่วมกับรศ.สุรพล นาถะพินธุ และนักศึกษาจากคณะโบราณคดี จึงได้ทำการรวบรวมข้าวของที่ขุดพบ จัดทำพิพิธภัณฑ์ขึ้น เพื่อต้องการ บอกเล่าถึงความสำคัญของแหล่งโบราณคดีบ้านโป่งมะนาว ซึ่งเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของชุมชนดึกดำบรรพ์ที่มีอายุเก่าแก่ถึง 3,000 ปี ของชิ้นเด่นที่ขุดพบคือ โครงกระดูกคาบขันสำริด เนื่องจากงบประมาณมีจำกัด การจัดแสดงเริ่มแรกจึงอาศัยพื้นที่ใต้ถุนอาคารหอสวดมนต์เป็นพื้นที่จัดแสดง ของข้าวต่าง ๆ จัดแสดงไว้ในตู้กระจกเล็ก ๆ ไม่กี่ตู้ตามแต่กำลังคนและกำลังทรัพย์จะทำได้ ต่อมาในปี 2546 องค์การบริหารส่วนจังหวัดลพบุรี จัดสรรงบประมาณมาให้จำนวนหนึ่ง เพื่อทำเป็นห้องพิพิธภัณฑ์ขึ้น มีการปรับปรุงการจัดแสดงใหม่ โดยมีนักศึกษาคณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากรช่วยเหลือเรื่องการจัดนิทรรศการภายใน รวมถึงฝึกอบรมเยาวชนเป็นมัคคุเทศน์นำชม นอกจากนี้มีการแบ่งพื้นที่ส่วนหนึ่งเป็นร้านขายของที่ระลึก เพื่อหารายได้เข้ามาเป็นค่าใช้จ่ายในพิพิธภัณฑ์
การบริหารจัดการพิพิธภัณฑ์ทำโดยคณะกรรมการชมรมฯ ที่ทุกคนสมัครใจเข้ามาทำงานโดยไม่มีค่าตอบแทน คณะกรรมการมีหน้าที่ต้อนรับแขกที่มาเยี่ยมชม ตรวจตราเงินที่ได้รับบริจาค และร่วมตัดสินใจในการดำเนินการต่างๆ ซึ่งต้องมีการลงมติเห็นชอบร่วมกัน
แนะนำพิพิธภัณฑ์โดยสื่อออนไลน์
แนะนำพิพิธภัณฑ์โดยบล็อก
แนะนำพิพิธภัณฑ์โดยสารานุกรมไทย
โครงกระดูก แหล่งโบราณคดี โป่งมะนาว ยุคก่อนประวัติศาสตร์ การลักลอบขุดโบราณวัตถุ
พิพิธภัณฑ์จุ้ยตุ่ยเต้าโบ้เก้ง
จ. ภูเก็ต
ศูนย์เรียนรู้วัฒนธรรมท้องถิ่นไทยรามัญเจ็ดริ้ว
จ. สมุทรสาคร
พิพิธภัณฑ์ไทยพวนบ้านเชียง
จ. อุดรธานี