นิทรรศน์รัตนโกสินทร์


ที่อยู่:
100 ถนนราชดำเนินกลาง แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
โทรศัพท์:
0-2621-0044
วันและเวลาทำการ:
อังคาร-อาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00-19.00น
ค่าเข้าชม:
ท่านละ 200บาท เด็ก 50 บาท (ฉลองเปิดให้บริการช่วงแรก ท่านละ 100บาท เด็ก 30บาท)นักเรียนและนักศึกษาในเครื่องแบบหรือแสดงบัตร พระภิกษุสงฆ์และสามเณร และผู้สูงอายุเข้าชมฟรี
เว็บไซต์:
ปีที่ก่อตั้ง:
2551
จัดการโดย:

โดย: -

วันที่: 12 มีนาคม 2555

โดย: -

วันที่: 12 มีนาคม 2555

โดย: -

วันที่: 12 มีนาคม 2555

โดย: -

วันที่: 12 มีนาคม 2555

โดย: -

วันที่: 12 มีนาคม 2555

โดย: -

วันที่: 12 มีนาคม 2555

โดย: -

วันที่: 04 มิถุนายน 2559

โดย: -

วันที่: 04 มิถุนายน 2559

โดย: -

วันที่: 08 มิถุนายน 2559

ไม่มีข้อมูล
ไม่มีข้อมูล

นิทรรศน์รัตนโกสินทร์

ชื่อผู้แต่ง: ดุลยปวีณ กรณฑ์แสง | ปีที่พิมพ์: 25 กพ. 2553

ที่มา: กรุงเทพธุรกิจ

แหล่งค้นคว้า:

โดย: ศมส.

วันที่: 13 มีนาคม 2555

อาคารราชดำเนินทำเป็นพิพิธภัณฑ์'นิทรรศน์รัตนโกสินทร์'เรียนรู้ที่มา

ชื่อผู้แต่ง: | ปีที่พิมพ์: 22 มกราคม 2553

ที่มา: ไทยโพสต์

แหล่งค้นคว้า:

โดย: ศมส.

วันที่: 13 มีนาคม 2555

เนรมิตอาคารถนนราชดำเนิน

ชื่อผู้แต่ง: ทีมวาไรตี้ | ปีที่พิมพ์: 4 ก.พ.2553

ที่มา: เดลินิวส์

แหล่งค้นคว้า:

โดย: ศมส.

วันที่: 13 มีนาคม 2555

นิทรรศน์รัตนโกสินทร์ คุณค่าแห่งยุคสมัย

ชื่อผู้แต่ง: | ปีที่พิมพ์: 22 กพ.2553

ที่มา: ผู้จัดการ

แหล่งค้นคว้า:

โดย: ศมส.

วันที่: 13 มีนาคม 2555

นิทรรศน์รัตนโกสินทร์ “ที่นี่ไม่ใช่พิพิธภัณฑ์”

ชื่อผู้แต่ง: วิชญดา ทองแดง | ปีที่พิมพ์: ปีที่ 37 ฉบับที่ 3 ก.ค.-ก.ย. 2554;Vol.37 No.3 Jul-Sep 2011

ที่มา: วารสารเมืองโบราณ

แหล่งค้นคว้า: ศมส.

โดย: ศมส.

วันที่: 13 มีนาคม 2555

สัมผัสวีถีชาวบางกอกผ่าน “พิพิธภัณฑ์” รอบเกาะรัตนโกสินทร์

ชื่อผู้แต่ง: | ปีที่พิมพ์: 28 มิ.ย. 2556;28-06-2013

ที่มา: ผู้จัดการ

แหล่งค้นคว้า:

โดย: ศมส.

วันที่: 01 กรกฎาคม 2556


ไม่มีข้อมูล

สัมผัสวีถีชาวบางกอกผ่าน “พิพิธภัณฑ์” รอบเกาะรัตนโกสินทร์

ประเทศไทยมีพิพิธภัณฑ์ดีๆน่าสนใจมากมาย แต่น่าแปลกที่พฤติกรรมคนไทยกับไม่ค่อยนิยมเข้าพิพิธภัณฑ์สักเท่าไหร่ อย่างไรก็ดีการเที่ยวชมสำหรับคนชอบเที่ยวพิพิธภัณฑ์หรือคนที่สนใจจะเรียนรู้สิ่งใหม่ๆนั้น มันมีเสน่ห์และความเพลิดเพลินที่น่าสนใจไม่น้อย สำหรับทริปนี้เป็นอีกครั้งหนึ่งที่ฉันเลือกเที่ยวพิพิธภัณฑ์เป็นหลักร่วมไปกับสิ่งน่าสนใจรอบๆเกาะรัตนนโกสินทร์ เพื่อเที่ยว-ชม แหล่งเรียนรู้และพิพิธภัณฑ์ต่างๆ ที่อยู่บริเวณรอบๆ เกาะรัตนโกสินทร์
ชื่อผู้แต่ง:
-

รีวิวของนิทรรศน์รัตนโกสินทร์

นิทรรศน์รัตนโกสินทร์ เป็น Night Museum เปิดให้ประชาชนทั่วไปเข้าชมตั้งแต่วันที่ 9 มีนาคมศกนี้ เป็นต้นไป มีอะไรบ้างที่ทำให้เราภูมิใจในความเป็น‘ชาวรัตนโกสินทร์’ในยุคสมัยที่เรากำลังดำเนินอยู่...ยังไม่ต้องตอบตอนนี้ก็ได้ มีสถานที่แห่งใหม่ที่ไม่ใช่มหาวิหารสรรพสินค้า แต่อยู่ใจกลางกรุง อยากแนะนำให้รู้จัก หลังจากปิดล้อมบูรณะปรับปรุงมาตั้งแต่ปี 2551 พร้อมป้ายข้อความขนาดใหญ่ “เตรียมพบกับปรากฎการณ์ใหม่ ที่จะเปลี่ยนมุมมองของคุณ บนถนนประวัติศาสตร์สายนี้” อาคารเก่าแก่สถาปัตยกรรมยุคโมเดิร์น อาคารแรกหัวถนน
ชื่อผู้แต่ง:
-

นิทรรศน์รัตนโกสินทร์ คุณค่าแห่งยุคสมัย

ใครที่ผ่านไปผ่านมาแถวถนนราชดำเนินกลาง ถัดจากลานพลับพลามหาเจษฎาบดินทร์(ฝั่งเดียวกัน) อาจจะสังเกตเห็นและตั้งข้อสงสัยเกี่ยวกับตึกเก่าที่ปรับปรุงใหม่ด้วยสีเหลืองนวลตาและป้ายข้อความขนาดใหญ่ที่มีใจความว่า “เตรียมพบกับปรากฏการณ์ใหม่ ที่จะเปลี่ยนมุมมองของคุณ บนถนนประวัติศาสตร์สายนี้” ซึ่ง ณ เวลานี้ อาคารดังกล่าวได้รับการเปลี่ยนรูปโฉมใหม่จนจวบจะแล้วเสร็จแล้ว ก่อนที่จะเผยโฉมใหม่ออกมาอีกครั้งในฐานะของ “นิทรรศน์รัตนโกสินทร์” อาคารการเรียนรู้รูปแบบใหม่ ที่มุ่งเป้าให้เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ และเป็นแหล่งรวบรวมข้อมูลความรู้ทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญอีกแห่งหนึ่งของเมืองไทย
ชื่อผู้แต่ง:
-

นิทรรศน์รัตนโกสินทร์ “ที่นี่ไม่ใช่พิพิธภัณฑ์”

อังคารที่ ๙ มีนาคม ๒๕๕๓ “อาคารแห่งการเรียนรู้รูปแบบใหม่” นาม “นิทรรศน์รัตนโกสินทร์” บนถนนราชดำเนินกลาง ได้ฤกษ์เปิดตัวอย่างเป็นทางการ อาคารแห่งนี้สูงสี่ชั้น สร้างร่วมสมัยกับอนุสาวรีย์ประชาธิปไตยเมื่อทศวรรษ ๒๔๘๐ มีรูปร่างหน้าตาเป็นเอกลักษณ์โดดเด่นขนาบข้างถนนราชดำเนินกลาง มีสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์เป็นผู้ดูแล เคยให้เอกชนเช่าอยู่หลายสิบปี จนเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๑ จึงเริ่มปรับปรุงอาคารเฉพาะส่วนที่อยู่ต่อจากลานพลับพลามหาเจษฎาบดินทร์ไปจนจรดโค้งหัวมุมอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย (ก่อนถึงห้องอาหารเมธาวลัยศรแดง) เพื่อหวังให้เป็น “ประตูสู่กรุงรัตนโกสินทร์”
ชื่อผู้แต่ง:
-

นิทรรศน์รัตนโกสินทร์ คุณค่าแห่งยุคสมัยสัมผัสได้ในหนึ่งวัน

ทันทีที่คุณได้มีโอกาสก้าวเข้าไปในอาคารนิทรรศน์รัตนโกสินทร์ ภาพของพิพิธภัณฑ์ในรูปแบบเก่าๆ ก็จะถูกลบหายไปจากความทรงจำจนหมดสิ้น การจัดแสดงในส่วนต่างๆ ของนิทรรศน์รัตนโกสินทร์นั้น เป็นการนำเสนอที่มีความความเคลื่อนไหว ผ่านกิจกรรมต่างๆ ที่ผู้เข้าชมสามารถมีส่วนร่วมได้ ซึ่งทุกห้องสามารถร้อยเรียงเรื่องราวของกรุงรัตนโกสินทร์เข้าไว้ด้วยกันอย่างครบถ้วน สมกับสโลแกน “คุณค่าแห่งยุคสมัย สัมผัสได้ในหนึ่งวัน”
ชื่อผู้แต่ง:
-