โดย:
วันที่: 13 กุมภาพันธ์ 2555
โดย:
วันที่: 13 กุมภาพันธ์ 2555
ชื่อผู้แต่ง: สมชาย นิลอาธิ | ปีที่พิมพ์: ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 (ธ.ค. 2530)
ที่มา: ศิลปวัฒนธรรม
แหล่งค้นคว้า: ศมส.
โดย: ศมส.
วันที่: 13 มีนาคม 2555
ชื่อผู้แต่ง: สุทัศน์ สังข์สนิท | ปีที่พิมพ์: 2536
ที่มา: มหาวิทยาลัยนเรศวร
แหล่งค้นคว้า: มหาวิทยาลัยนเรศวร
โดย: ศมส.
วันที่: 13 มีนาคม 2555
ชื่อผู้แต่ง: ชีวสิทธิ์ บุณยเกียรติ | ปีที่พิมพ์: ปีที่ 54 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2558;vol.54 No.3 July - September, 2015
ที่มา: วารสารวัฒนธรรม
แหล่งค้นคว้า: ศมส.
โดย: ศมส.
วันที่: 24 กันยายน 2558
แนะนำพิพิธภัณฑ์โดยทีมงานและสมาชิก
รีวิวของพิพิธภัณฑ์บ้านอีสาน
พิพิธภัณฑ์บ้านอีสานตั้งอยู่ในสถานีวิจัยวลัยรุกขเวช มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เกิดขึ้นจากการก่อตั้งสถานีวิจัยวลัยรุกขเวชขึ้นมาเพื่อศึกษาพันธุ์ไม้ พันธุ์ไผ่ พืชสมุนไพร ซึ่งเป็นเรื่องของวิทยาศาสตร์ ต่อมาจึงมีการเพิ่มเติมการแสดงเกี่ยวกับสังคมวัฒนธรรมของอีสาน จึงจัดตั้งพิพิธภัณฑ์บ้านอีสานตามแบบประเพณีเดิม บริเวณที่ตั้งพิพิธภัณฑ์ จัดให้มีลานบ้านอยู่ตรงกลาง โดยมีบ้านแต่ละหลังอยู่โดยรอบ พยายามรักษาต้นไม้และบริเวณรอบๆหมู่บ้านยังเป็นป่าโคกดงเค็ง ซึ่งใช้เป็นสถานที่ในการศึกษาพืชพันธุ์ดังที่กล่าวไว้แล้วข้างต้น ภายในพิพิธภัณฑ์เป็นแหล่งรวบรวมข้อมูล จัดแสดงชีวิตความเป็นอยู่สะท้อนให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระบบเครือญาติ ทั้งยังเป็นการอนุรักษ์สถาปัตยกรรมท้องถิ่นอีกด้วย รวมทั้งแสดงการถ่ายทอดเทคโนโลยีจากภูมิปัญญาของชาวอีสาน โดยนำข้อมูลเหล่านั้นจัดแสดงในบ้านแต่ละหลังซึ่งเป็นบ้านอีสานรูปแบบเดิมจากชุมชนต่างๆ เช่นเรือนของชาวแสก เรือนผู้ไท บ้านแต่ละหลังได้จัดแสดงเรื่องต่างๆกัน ประกอบด้วย เรือนพันธุ์ข้าว เรือนประมงน้ำจืด เรือนทอผ้า เรือนหมอยา เรือนเครื่องดนตรี โดยมีสิ่งของจัดแสดงอยู่ภายใน เช่น เครื่องมือจับปลา เครื่องมือทอผ้า สมุนไพร เป็นต้น ผู้ชมยังสามารถจับสิ่งของเหล่านั้นได้ ที่นี่นับเป็นอีกตัวอย่างหนึ่งที่พยายามบอกให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติในรูปแบบง่ายๆและใกล้ตัวที่สุดข้อมูลจาก: พิพิธภัณฑ์บ้านโบราณอีสาน.ศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 18 ฉบับที่ 8 (มิถุนายน 2540) หน้า 102.
แนะนำพิพิธภัณฑ์โดยสื่อออนไลน์
ชีวิตของ"บ้าน"อีสานที่สารคาม
หากมีโอกาสเดินทางมาถึงจังหวัดมหาสารคาม แวะสักการบูชาพระธาตุนาดูนแล้ว ผู้ที่สนใจเรียนรู้วิถีชีวิตดั้งเดิมของคนอีสานน่าจะหาโอกาสเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์มีชีวิตบ้านอีสาน สถาบันวลัยรุกขเวช ซึ่งตั้งอยู่ในบริเวณใกล้กับพระาตุนาดูนด้วย พิพิธภัณฑ์แห่งนี้เปิดให้สาธารณชนเข้าชมตั้งแต่ปลายทศวรรษ 2530 เพื่อให้เป็นแหล่งรวบรวมข้อมูลอนุรักษ์และจัดแสดงสภาพชีวิตความเป็นอยู่ สภาพสังคมและวัฒนธรรมของชาวอีสาน แสดงความสัมพันธ์ระหว่างการวิจัยและพัฒนาทางด้านวิทยาศาสตร์และสงัคมศาสตร์แนะนำพิพิธภัณฑ์โดยบล็อก
แนะนำพิพิธภัณฑ์โดยสารานุกรมไทย
งานอนุรักษ์สถาปัตยกรรม เรือนไทย อีสาน
พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำจืด
จ. มหาสารคาม
หอวัฒนธรรมหมู่บ้าน เฮือนอีสานบ้านวัฒนธรรม
จ. มหาสารคาม
พิพิธภัณฑ์เห็ดที่มีฤทธิ์ทางยา
จ. มหาสารคาม