ชุดข้อมูลจารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง
ชุดข้อมูลนี้ได้รวบรวมข้อมูลจารึกที่ถูกเก็บรักษาไว้พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติในจังหวัดต่างๆ เพื่อเป็นข้อมูลสำหรับสำรวจเบื้องต้นว่าพิพิธภัณฑสถานแห่งนี้มีจารึกอะไรบ้าง แต่ข้อมูลอาจจะไม่สมบูรณ์ครบถ้วน เนื่องด้วยข้อมูลจารึกที่ได้รับการอ่าน-แปลและเผยแพร่ในฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย มีน้อยกว่าจารึกที่เก็บรักษาไว้ในสถานที่จริง
title | type | description | subject | spatial | temporal | language | source.uri | |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 |
จารึกเจ้าวัดบริพารภิกษุ |
ธรรมล้านนา,ไทยอยุธยา |
ข้อความจารึกเล่าว่า เมื่อท่านเจ้าวัดบริพารภิกษุได้เป็นเจ้าอาวาสมาได้สี่ปีเศษ นายญี่งามและคณะได้ร่วมกันบรรจุพระธาตุ 3 แห่ง ที่บลังรุ้งแห่งหนึ่ง บลังเกตแห่งหนึ่ง และนิรันตะแห่งหนึ่ง ในที่นี้ยังไม่อาจสรุปได้แน่นอนว่า ที่กล่าวว่าบรรจุพระธาตุ 3 แห่งนั้น หมายถึงบรรจุพระธาตุ 3 องค์ลงในที่สามแห่งของพระเจดีย์เดียวกัน หรือ บลังรุ้ง บลังเกต และนิรันตะ เป็นชื่อเรียกเจดีย์แต่ละองค์ |
หลักที่ 294 จารึกเจ้าวัดบริพารภิกษุ, หลักที่ 294 จารึกเจ้าวัดบริพารภิกษุ, สท. 54, สท. 54, เลขที่ 28/2526, เลขที่ 28/2526, ทองคำ, แผ่นทองคำรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, เมืองเก่า, จังหวัดสุโขทัย, ไทย, สุโขทัย, เจ้าวัดบริพารภิกษุ, เจ้าอาวาส, นายญี่งาม, พุทธศาสนา, บ่ลังรุ้ง, บ่ลังเกต, บลังรุ้ง, บลังเกต, นางเอดพี่ทุย, มหาเถรพี่นาง, กองบุญ, พี่น้องนางอุต, พ่อเอต, ทายก, เจดีย์, บรรจุพระธาตุ, อายุ-จารึก พ.ศ. 1999-2005, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20-21, วัตถุ-จารึกบนแผ่นทอง, ลักษณะ-จารึกบนกรอบประตู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง สุโขทัย, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, เรื่อง-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-บรรจุพระธาตุ |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย |
พุทธศักราช 1999-2005 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/40?lang=th |
2 |
จารึกเจดีย์วัดมหาธาตุ |
ขอมสุโขทัย |
สภาวะธรรมที่เป็นกุศล สภาวะธรรมที่เป็นอกุศล และสภาวะธรรมที่เป็นกลาง นั้นมีสาเหตุจากหลายปัจจัย |
จารึกเจดีย์วัดมหาธาตุ, สท. 30, สท. 30, ศิลา, แผ่นสี่เหลี่ยม, เจดีย์ด้านเหนือวัดมหาธาตุ, ตำบลเมืองเก่า, จังหวัดสุโขทัย, ไทย, สุโขทัย, พระพุทธเจ้า, กุศล, อกุศล, ธรรม, อวิชชา, สังขาร, วิญญาณ, นามรูป, สฬายตนะ, ผัสสะ, เวทนา, ตัณหา, อุปาทาน, ภพ, ชาติ, ชรามรณะ, มาติกา 3, มาติกา 3, สังคหมาติกา, อสังคหมาติกา, สังคหิเตน, สังคหิตมาติกา, ขันธบัญญัติ, อายตนบัญญัติ, ธาตุบัญญัติ, สัจจบัญญัติ, อินทรียบัญญัติ, บุคคลบัญญัติ, ปรมัตถ์, อรรถ, พระปรวาทยาจารย์, ขันธ์ 5, ขันธ์ 5, รูปขันธ์, เวทนาขันธ์, สัญญาขันธ์, สังขารขันธ์, วิญญาณขันธ์, อายตน 12, อายตน 12, จักขวายตนะ, โสตายตนะ, ฆานายตนะ, ชิวหายตนะ, กายายตนะ, มนายตนะ, รูปายตนะ, สัททายตนะ, คันธายตนะ, รสายตนะ, โผฎฐัพพายตนะ, ธัมมายตนะ, ธาตุ 3, ธาตุ 3, จักขุธาตุ, โสตธาตุ, วิญญาณธาตุ, สัจจะ 3, สัจจะ 3, ทุกขสัจจะ, ทุกขสมุทยสัจจะ, มัคคสัจจะ, สังขาร 3, สังขาร 3, กายสังขาร ,วจีสังขาร, จิตตสังขาร, อนุสัย 2, อนุสัย 2, กามราคานุสัย, อวิชชานุสัย, ยมก 3, ยมก 3, จิตตยมก, ธรรมยมก, อินทรียยมก, เหตุปัจจัย, เหตุ 6, เหตุ 6, โลภะ, โทสะ, โมหะ, อโลภะ, อโทสะ, อโมหะ, อารัมมณปัจจัย, อารมณ์ 6, อารมณ์ 6, รูป, เสียง, กลิ่น, รส, สัมผัส, รูปารมณ์, อธิปติปัจจัย, ฉันทะ, วิริยะ, จิตตะ, วิมังสา, อนันตรปัจจัย, อาวัชชนจิต, ปัญจวิญญาณ, สัมปฏิจฉันนจิต, สันติรณจิต, โวฏฐวนจิต, สมนันตรปัจจัย, อนันตรปัจจัย, สหชาตปัจจัย, จิต, เจตสิก, สหชาตรูป, ภูตรูป, อุปาทายรูป, กัมมัชรูป, วิบากขันธ์, ปฏิสนธิ, อัญญมัญญปัจจัย, มหาภูตรูป, กัมมัชรูป, วิบากขันธ์, ปฏิสนธิขณะ, นิสสยปัจจัย, ปสาทรูป, อุปนิสสยปัจจัย, ปุเรชาตปัจจัย, ปสาทรูป, หทยรูป, อารมณ์ 5, อารมณ์ 5, รูป, เสียง, กลิ่น, รส, สัมผัส, ปัจฉาชาตปัจจัย, อาเสวนปัจจัย, กัมมปัจจัย, วิปากปัจจัย, วิบาก, กรรม, อาหารปัจจัย, ผัสสาหาร, มโนสัญเจตนาหาร, วิญญาณาหาร, กวฬิงการาหาร, อินทรียปัจจัย, อินทรีย์ 20, อินทรีย์ 20, อิตถินทรีย์, ปุริสินทรีย์, ฌานปัจจัย, องค์ฌาณ 7, องค์ญาณ 7, วิตก, วิจาร, ปีติ, เอกัคคตา, โสมนัส, โทมนัส, อุเปกขา, มัคคปัจจัย, มรรค 12, มรรค 12, สัมมาทิฏฐิ, สัมมาสมาธิ, สัมมัตตนิยม, มิจฉัตตนิยม 4, มิจฉัตตนิยม 4, มิจฉาทิฏฐิ, มิจฉาสังกัปปะ, มิจฉาวายามะ, มิจฉาสมาธิ, สัมปยุตตปัจจัย, นามขันธ์ 4, นามขันธ์ 4, วิปปยุตตปัจจัย, จักขวาทิวัตถุ 6, จักขวาทิวัตถุ 6, ปุเรชาตรูป, สหชาตรูป, อัตถิปัจจัย, รูปธรรม, นัตถิปัจจัย, วิคตปัจจัย, นัตตถิปัจจัย, อวิคตปัจจัย, อวิคตะ 5, อวิคตะ, สหชาตอวิคตะ, ปุเรชาตอวิคตะ, อาหารอวิคตะ, อินทรียอวิคตะ, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย |
พุทธศตวรรษ 21 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/95?lang=th |
3 |
จารึกวัดโพธิ์หอม |
ไทยอยุธยา,ขอมอยุธยา |
ข้อความที่จารึกเป็นเรื่องมหาธรรมเถียรและยศเถียร พี่น้อง 2 คน ได้สร้างพระพุทธรูป สร้างวิหารไว้ในพระพุทธศาสนา แล้วตั้งความปรารถนาไว้ในอนาคตกาล |
สท. 35, สท. 35, หลักที่ 96 จารึกวัดโพธิ์หอม, หลักที่ 96 จารึกวัดโพธิ์หอม, พ.ศ. 2025, พ.ศ. 2028, พ.ศ. 2232, พุทธศักราช 2025, พุทธศักราช 2028, พุทธศักราช 2232, พ.ศ. 2025, พ.ศ. 2028, พ.ศ. 2232, พุทธศักราช 2025, พุทธศักราช 2028, พุทธศักราช 2232, ดินเผา, รูปใบเสมา, วัดโพธิ์หอม, ตำบลดงเดือย, อำเภอกงไกรลาส, จังหวัดสุโขทัย, ไทย, อยุธยา, มหาพราหมณ์, มหากษัตรธิราช, มหากษัตราธิราช, เศรษฐี, พระพุทธเจ้า, พระเจ้า, มหาธรรมเถียร, ยศเถียร, พุทธศาสนา, วัดเหนือ, วัดใต้พระเจดีย์, พระวิหาร, สร้างพระพุทธรูป, สร้างวัด, ยกพระวิหาร, พระนิพพาน, พระสัทธรรม, พระคัมภีร์, พระใจดี, พระพุทธรูป, ภพ, ชาติ, ประเวณี, อนาคตกาล, ปัจจัย, ตระกูล, ปีฉลู, นวพรรณ ภัทรมูล, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5, อายุ-จารึก พ.ศ. 2225, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 23. ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา, ยุคสมัย-จารึกสมัยอยุธยา-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, วัตถุ-จารึกบนดินเผา, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระวิหาร, เรื่อง-ความเชื่อทางศาสนา-ชาติหน้า, บุคคล-มหาธรรมเถียร, บุคคล-ยศเถียร |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย |
พุทธศักราช 2225 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/612?lang=th |
4 |
จารึกวัดหินตั้ง |
ไทยสุโขทัย |
เรื่องราวที่จารึก ได้กล่าวถึงพระมหาธรรมราชาผู้ปู่ กระทำหอมาฬก(พลับพลา ปะรำ โรงพิธี) พระมหาธาตุเจ้า และการบำเพ็ญกุศลในการสร้างถาวรวัตถุ และวัตถุอื่นๆ ในพระพุทธศาสนา |
จารึกวัดหินตั้ง, สท. 37, สท. 37, ศิลาจารึก อักษรและภาษาไทย, หลักที่ 95 ศิลาจารึกวัดหินตั้ง, หลักที่ 95 ศิลาจารึกวัดหินตั้ง, ศิลาจารึกวัดหินตั้ง พุทธศตวรรษที่ 20, ศิลาจารึกวัดหินตั้ง พุทธศตวรรษที่ 20, หินชนวน, แผ่นรูปใบเสมา, วัดหินตั้ง, ไทย, สุโขทัย, มหาธรรมราชาผู้ปู่, ท่านเถรสวร, อุบาสกชี, ท่านมหาเถรทรกรรมพรต, ดาบสเทียน, แม่ครัว, พระเจ้า, พระพุทธเจ้า, เจ้าสงฆ์, เชียงไส, ภิกษุ, พระศรีมหาโพธิ์, พระมหาโพธิ์, ทอง, จีพอร, จีวร, พระพิมพ์, อิฐ, ดอกไม้เงิน, ดอกไม้ทอง, ประทีป, กากเยีย, สนับเชียง, สวนหมาก, พุทธศาสนา, หอมาฬกพระมหาธาตุเจ้า, กุฎี, กุฏิ, พระไตรโลก, ปั้นอิฐรองดินพระปรางค์, ปลูกพระศรีมหาโพธิ์, ซ่อมพระเจ้า, ซ่อมพระพุทธรูป, ปั้นอิฐรองดินพระปรางค์, ก่อพระเจดีย์, สังสการ, บุญ, ตำลึง, เบี้ย, ปี, เดือน, ดวง, ก้อน, จังหัน, พระพุทธรูป, พรรษา, พระมหาชาติ, สมวัด, เลขวัด, นา, วชรพร อังกูรชัชชัย และดอกรัก พยัคศรี, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, ประสาร บุญประคอง, ศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างถาวรวัตถุ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างหอมาฬก, บุคคล-พระมหาธรรมราชา, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างถาวรวัตถุ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างหอมาฬก, บุคคล-พระมหาธรรมราชา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย |
พุทธศตวรรษ 20 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/233?lang=th |
5 |
จารึกวัดสรศักดิ์ |
ไทยสุโขทัย |
ได้กล่าวถึงนายอินทรศักดิ์ขอที่ดินจากเจ้าท่านออกญาธรรมราชาเพื่อสร้างอาราม |
จารึกวัดสรศักดิ์, สท. 25, สท. 25, หลักที่ 9 ก., หลักที่ 9 ก., หลักที่ 49 ศิลาจารึกวัดสรศักดิ์, หลักที่ 49 ศิลาจารึกวัดสรศักดิ์, ศิลาจารึกวัดสรศักดิ์ พุทธศักราช 1960, ศิลาจารึกวัดสรศักดิ์ พุทธศักราช 1960, พ.ศ. 1960, พุทธศักราช 1960, พ.ศ. 1960, พุทธศักราช 1960, จ.ศ. 779, จุลศักราช 779, จ.ศ. 779, จุลศักราช 779, พ.ศ. 1959, พุทธศักราช 1959, พ.ศ. 1959, พุทธศักราช 1959, จ.ศ. 778, จุลศักราช 778, จ.ศ. 778, จุลศักราช 778, พ.ศ. 1955, พุทธศักราช 1955, พ.ศ. 1955, พุทธศักราช 1955, จ.ศ. 774, จุลศักราช 774, จ.ศ. 774, จุลศักราช 774, ม.ศ. 1334, มหาศักราช 1334, จ.ศ. 1334, จุลศักราช 1334, หินชนวน, แผ่นรูปไบเสมา, ตระพังสอ, จังหวัดสุโขทัย, ไทย, สุโขทัย, นายอินทรสรศักดิ์, ออกญาธรรมราชา, นายสังฆการี, พระมาตุจฉา, พ่ออยู่หัวเจ้า, แม่อยู่หัวเจ้า, ออกญาธรรมราชา, พ่อมหาเถรเจ้า, มหาเถรธรรมไตรโลกคจุนวาจารญาณทัสสี, ธรรมไตรโลกสุนทราจารย์, ธรรมไตรโลกคุณวาจารย์, เจ้าพระยาหลาน, วัดตระกวน, พระมหาเถรเจ้า, สานุศิษย์, พระสงฆ์สบสังวาส, พระบรมราชาธิบดีศรีมหาจักรพรรดิราช, พระมาตุราช, พระมาตุจฉาเจ้า, มหาอุบาสิกา, บพิตร, เจ้าสามเณร, เจ้าภิกษุ, นายสรศักดิ์, พระศรีอาริยไมตรีโพธิสัตว์, ช้างเผือก, ดอกไม้, ตำบลดาวขอน, วัดตระกวน, วัดสรศักดิ์, ตำบลบ้านสุกพอมน้อย, บ้านไผ่ล้อม, บ้านหอด, ตำบลบ้านสุกพอมน้อย, บ้านวังดัด, บ้านป่าขาม, บ้านตาลโจะ, บ้านหนองบัวหลวง, บ้านละกันน้อย, บ้านละกันหลวง, บ้านดุง, หนองยางน้อย, หัวฝาย, หมู่อีสาน, พุทธศาสนาศาสน, อาราม, กุฎี, กุฏิ, พระวิหาร, หอพระ, หัวฝายสองวาย, มหาเจดีย์, ตำหนักหัวสนามเก่า, วัดสรศักดิ์, หมู่วัดพายัพ, วัด, ปิดทอง, ฉลองมหาเจดีย์, เอาพรรษา, จำพรรษา, ปีมะโรง, สัปต, จัตวาริศก, วันพฤหัสบดี, เดือนห้า, ขึ้นห้าค่ำ, มะโรงนักษัตร, จัตวาริศก, เดือนหกเพ็ง, ไตรปิฎก, พระศาสน์, วอกนพศก, ปีวอก, ปีระกา, ระกาสัมฤทธิศก, ทาน, นา, วาย, อากร, พระเจ้าหย่อนตีน, พระเจ้าจงกรม, พระพุทธรูป, เบี้ย, จาริกวัตร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, จารึกสมัยสุโขทัย, อายุ-จารึก พ.ศ. 1960, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย-พระมหาธรรมราชาที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างวัดหรือศาสนสถาน, บุคคล-นายอินทรศักดิ์, บุคคล-ออกญาธรรมราชา, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย |
พุทธศักราช 1960 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/128?lang=th |
6 |
จารึกวัดตระพังนาค |
ขอมสุโขทัย |
กล่าวถึง สระและพยัญชนะไทย เข้าใจว่าคือตำราหรือแบบเรียนขั้นต้นของคนไทย ในระหว่างพุทธศตวรรษที่ 21 |
จารึกวัดตระพังนาค, สท. 33, สท. 33, ศิลา, หินดินดาน, แผ่นสี่เหลี่ยม, วัดตระพังนาค, อำเภอเมืองเก่า, จังหวัดสุโขทัย, ไทย, สุโขทัย, ท้าววิรูปักษ์, ท้าวกุเวร, ท้าวธตรฐ, ท้าววิรุฬหก, พระผู้มีพระภาคเจ้า, ผู้ตรัสรู้, ครู, มนุษย์, ผู้เบิกบาน, บุรุษ, วิญญูชน, พระสงฆ์สาวก, พุทธศาสนา, สระไทย, พยัญชนะไทย, บทสรรเสริญ, พุทธคุณ, ธรรมคุณ, สังฆคุณ, ทิศประจิม, ทิศอุดร, ทิศบูรพา, ทิศทักษิณ, กิเลส, วิชชา, จรณะ, โลก, เทวดา, พระธรรม, ยุคสมัย-พุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินดินดาน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง, เรื่อง-วรรณกรรม, เรื่อง-วรรณกรรม-แบบเรียน, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย |
พุทธศตวรรษ 21 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/173?lang=th |
7 |
จารึกรอยพระพุทธบาทวัดศรีชุม |
ขอมสุโขทัย |
กล่าวถึงพรหมโลก 16 ภูมิ |
จารึกรอยพระพุทธบาทวัดศรีชุม, สท. 47, สท. 47, ศิลา, รูปรอยพระพุทธบาท, วัดศรีชุม, ตำบลเมืองเก่า, จังหวัดสุโขทัย, ไทย, สุโขทัย, พุทธศาสนา, พรหมโลก, ปาริสัชชา, ปุโรหิตา, มหาพรหมา, เวหัปผลา, ปริตตาภา, อัปปมาณาภา, อาภัสสรา, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ชะเอม แก้วคล้าย, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5, จารึกอักษรขอมสุโขทัย, จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, จารึกภาษาบาลี, จารึกบนศิลา, จารึกที่รอยพระพุทธบาท, จารึกวัดศรีชุม, จารึกพบที่สุโขทัย, จารึกสมัยสุโขทัย, จารึกในพระพุทธศาสนา, พรหมโลก 16 ชั้น, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนไม้สัก, ลักษณะ-จารึกบนรอยพระพุทธบาท, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย |
พุทธศตวรรษ 20 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/169?lang=th |
8 |
จารึกบนฐานประติมากรรม |
ปัลลวะ |
เนื้อหาของจารึกหลักนี้เกี่ยวกับหลักธรรมสำคัญของพระพุทธศาสนาเรื่องทุกข์ และปฏิจจสมุปบาท |
จารึกบนฐานประติมากรรม, ศิลา, ฐานประติมากรรม, แผ่นหิน, ประตูแสนงอน, อุทยานประวัติศาสตร์ศรีเทพ, อำเภอศรีเทพ, จังหวัดเพชรบูรณ์, ศรีเทพ, ทวารวดี, พุทธศาสนา, ทุกข์, ปฏิจจสมุปบาท, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, อุไรศรี วระศริน, จารึกที่เมืองศรีเทพ, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, อุไรศรี วระศริน, นวพรรณ ภัทรมูล, จารึกที่เมืองศรีเทพ, อุทยานประวัติศาสตร์ศรีเทพ, กรมศิลปากร, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 11, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 12, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 13, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 11-13, ยุคสมัย-จารึกสมัยทวารวดี, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกที่ฐานประติมากรรม, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-เวทมนตร์คาถาในพระพุทธศาสนา-ปฏิจจสมุปบาท |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย |
พุทธศตวรรษ 11-13 |
บาลี |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/285?lang=th |
9 |
จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสุโขทัย (ออกหมื่นโปศเทพ) |
ไทยสุโขทัย |
กล่าวถึงชื่อบุคคล คือ พระออกหมื่นโปศเทพ |
หลักที่ 300 จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสุโขทัย (ออกหมื่นโปศเทพ), หลักที่ 300 จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสุโขทัย (ออกหมื่นโปศเทพ), ฐานพระพุทธรูป, พระพุทธรูปสัมฤทธิ์ปางมารวิชัย, พระพุทธรูปสำริดปางมารวิชัย, วัดเขาพระบาทน้อย, เมืองเก่าสุโขทัย, จังหวัดสุโขทัย, ไทย, สุโขทัย, พระออกหมื่นโปศเทพ, พุทธศาสนา, วชรพร อังกูรชัชชัยและ, ดอกรัก พยัคศรี, ประเสริฐ ณ นคร, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 7, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 21, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-พระออกหมื่นโปศเทพ |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย |
พุทธศตวรรษ 21 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/144?lang=th |
10 |
จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสุโขทัย (นายญี่บุญ) |
ไทยสุโขทัย |
กล่าวถึงนามผู้มีจิตศรัทธาร่วมกันสร้างพระพุทธรูป พร้อมทั้งระบุความปรารถนาแห่งตนให้ได้อานิสงส์แห่งการสร้างพระพุทธรูปนั้น เป็นผลบุญหนุนส่งให้ได้พบพระศรีอาริยเมตตรัย ซึ่งได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าต่อไปในอนาคต |
หลักที่ 298 จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสุโขทัย (นายญี่บุญ), หลักที่ 298 จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสุโขทัย (นายญี่บุญ), ฐานพระพุทธรูป, พระพุทธรูปสัมฤทธิ์ประทับนั่งสมาธิราบปางมารวิชัย, พระพุทธรูปสำริดประทับนั่งสมาธิราบปางมารวิชัย, วัดลาวพันลำ, ตำบลเมืองเก่า, จังหวัดสุโขทัย, ไทย, สุโขทัย, พระเจ้าญี่บุญ, นายญี่บุญ, แม่จัน, นางเริ่ม, นางไร, เจ้าไสอานนท์, สายใจ, นางยอด, พระศรีอาริยไมตรี, ลูกชาย, พุทธศาสนา, สร้างพระพุทธรูป, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์, ลักษณะ-จารึกที่ฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิ์, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, บุคคล-พระศรีอาริยเมตไตรย, บุคคล-นายญี่บุญ |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย |
พุทธศตวรรษ 20 (ตอนต้น) |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/138?lang=th |
11 |
จารึกฐานพระพุทธรูปศิลาเขียววัดข้าวสาร |
ไทยสุโขทัย |
เป็นจารึกสั้นๆ กล่าวถึง ชีผ้าขาวผู้หนึ่งชื่อ เวสสันดร (เพสสันดร) ขอบูชาพระรัตนตรัย |
จารึกฐานพระพุทธรูปศิลาสีเขียววัดข้าวสาร พุทธศตวรรษที่ 20, จารึกฐานพระพุทธรูปศิลาสีเขียววัดข้าวสาร พุทธศตวรรษที่ 20, สท. 36, สท. 36, ศ.ก. 3 ท. 29, ศ.ก. 3 ท. 29, จารึกที่ฐานพระพุทธรูปนั่ง, หลักที่ 90 ศิลาจารึกฐานพระพุทธรูปนั่ง, หลักที่ 90 ศิลาจารึกฐานพระพุทธรูปนั่ง, หินชนวน, สีเขียว, แผ่นหิน, ปลายมน, จำหลักรูปพระพุทธปฏิมากร, วัดข้าวสาร, จังหวัดสุโขทัย, ไทย, สุโขทัย, ชีผ้าขาวเวสสันดร, ชีผ้าขาวเพสสันดร, ชีปะขาวเวสสันดร, ชีปะขาวเพสสันดร, พระเทพาธิราช, พุทธศาสนา, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ศิลปากร, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, จารึกสมัยสุโขทัย, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 20, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, ลักษณะ-จารึกที่จำหลักรูปพุทธปฏิมากร, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-บูชาพระรัตนตรัย, บุคคล-เวสสันดร, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย |
พุทธศตวรรษ 20 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/231?lang=th |