ชุดข้อมูลจารึกมหาวงศ์ พงศาวดารลังกา
title | type | description | subject | spatial | temporal | language | source.uri | |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 |
จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 32 (พระเจ้าทุฏฐคามินีตีเมืองมเหลนครได้แล้วยกทัพไปประชิดเมืองอนุราธปุระ) |
ขอมธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
เล่าเรื่องมหาวงษ์ซึ่งเป็นพงศาวดารลังกา ตอนพระเจ้าทุฏฐคามินีตีเมืองมเหลนครได้แล้วยกทัพไปประชิดเมืองอนุราธปุระ พระเจ้าเอฬาระราชยกพลออกมาทำสงคราม พระราชมารดาทำอุบายให้จัดทัพ 31 กอง ผูกหุ่นที่แต่งกายเหมือนกษัตริย์และแม่ทัพ ฝ่ายพระเจ้าเอฬารราชฟันหุ่นขาดทั้งหมด กษัตริย์ทั้งสองเผชิญหน้ากัน พระเจ้าทุฏฐคามินีฆ่าพระเจ้าเอฬารราชสวรรคต จึงได้ครองอนุราธปุระและเมืองทมิฬ |
จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 32 (พระเจ้าทุฏฐคามินีตีเมืองมเหลนครได้แล้วยกทัพไปประชิดเมืองอนุราธปุระ), จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 32 (พระเจ้าทุฏฐคามินีตีเมืองมเหลนครได้แล้วยกทัพไปประชิดเมืองอนุราธปุระ), หิน, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร จังหวัดกรุงเทพมหานคร วิหารพระพุทธไสยาสน์, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, พระเจ้าอภัยทุฏฐคามินี, พระเจ้าอไภยทุฐ, ทีฆชันตุ, สุระนิมิล, เอฬารราช, ทุฏฐคามินีอภัย, พระเจ้าเอฬาระราช, ทิฆะชันตุโยธา, พระราชมาดา, พระเจ้าอไภยทุฐราชบุตร, กระษัตร, กษัตริย์, ทิฆะชันตุ, พลม้า, สุระนิมิล, ข้าศึก, ช้างพลายมหาบรรพต, พญากุรฑลหัตถี, พลายบรรพตกุญชร, ดาบ, หอก, พระแสงโตมร, ลังกา, ศรีลังกา, สีหบุรนคร, อนุราธปุระ, มเหลกะ, กาฬบรรพต, สีหปุระ, เมืองมะเหละนคร, เมืองอนุราธ, เชิงเขากาฬบรรพต, หน้าพระลานตำหนักนอกเมือง, กรุงอนุราช, เมืองทมิฬ, พระสถูป, พุทธศาสนา, มหาวงษ์, สิงหล, ทมิฬ, พลายมหาบรรพต, กุณฑลหัตถี, พลายบรรพตกุญชร, ตำนานพุทธศาสนา, พงศาวดารลังกา, ข่าวสารสงคราม, หุ่น, คอช้าง, คชสงคราม, พระศพ, พระศภ, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-รัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-พงศาวดาร, เรื่อง-พงศาวดารลังกา, เรื่อง-ตำนานพระพุทธศาสนา, บุคคล-พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว |
ผนังด้านบนหน้าต่างทางทิศตะวันตกของวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
ไม่ปรากฏศักราช |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/3159?lang=th |
2 |
จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 31 (พระเจ้าทุฏฐคามินีอภัยยกพลข้ามแม่น้ำมาล้อมเมืองวิชิตนคร) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
เล่าเรื่องมหาวงษ์ซึ่งเป็นพงศาวดารลังกา ตอนพระเจ้าทุฏฐคามินีอภัยยกพลข้ามแม่น้ำมาล้อมเมืองวิชิตนครพร้อมด้วยอัครโยธาทั้ง 10 และพญากุณฑลหัตถี แต่ไม่สามารถปราบทมิฬที่หนีมาได้ จึงวางอุบายให้ทหารปลอมตัวเข้าไปในเมือง จนฆ่าพญาทมิฬสำเร็จ |
จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 31 (พระเจ้าทุฏฐคามินีอภัยยกพลข้ามแม่น้ำมาล้อมเมืองวิชิตนคร), จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 31 (พระเจ้าทุฏฐคามินีอภัยยกพลข้ามแม่น้ำมาล้อมเมืองวิชิตนคร), หิน, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร วิหารพระพุทธไสยาสน์, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, อภัยทุฏฐคามินี, พระเจ้าอะไภยทุฐ, โคธรยิมภร, สุระนิมิล, มหาโสณ, เถราบุตาภัย, ทุฏฐคามินีอภัย, เวฬุสุมะนะโยธา, พลทมิฬ, พลม้าทมิฬ, พระเจ้าอไภยทุฐ, พญากุณฑลหัตถี, โคธกะยิมภร, สันทมิตโยธา, สุระนิมิล, โคธกะยิมภร, มหาโสณ, เถรบุตาไภย, ทหาร, พญาทมิฬ, ม้า, พญาช้าง, น้ำมัน, ทรายร้อน, ธงชัย, ธงปะฏาค, ธงปะฏาก, ลังกา, ศรีลังกา, สีหบุรนคร, อนุราธปุระ, วิชิตนคร, คิรีโลกนคร, สีหปุระ, เมืองวิชิตนคร, คูเมือง, เมืองคิรีโลกะนคร, เมืองทมิฬ, เมืองมะเหละนคร, คู, ศาสนา, มหาวงษ์, สิงหล, ทมิฬ, กุณฑลหัตถี, เวฬุสุมนโยธา, ตำนานพุทธศาสนา, พงศาวดารลังกา, เชิงเทิน, กำแพง, เสาเขื่อนริมประตูเมือง, ประตูเหล็ก, เครือหนาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-รัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-พงศาวดาร, เรื่อง-พงศาวดารลังกา, เรื่อง-ตำนานพระพุทธศาสนา, บุคคล-พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว |
ผนังด้านบนหน้าต่างทางทิศตะวันตกของวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
ไม่ปรากฏศักราช |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/3157?lang=th |
3 |
จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 30 (พญาช้างกุณฑลหัตถีประลองกำลังแพ้สันทมิตโยธา) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
เล่าเรื่องมหาวงษ์ซึ่งเป็นพงศาวดารลังกา ตอนพญาช้างกุณฑลหัตถีประลองกำลังแพ้สันทมิตโยธา พระเจ้าทุฏฐคามินีอภัยให้ตั้งหมู่บ้านแล้วเรียกชื่อว่า หัตถีโจรคาม |
จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 30 (พญาช้างกุณฑลหัตถีประลองกำลังแพ้สันทมิตโยธา), จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 30 (พญาช้างกุณฑลหัตถีประลองกำลังแพ้สันทมิตโยธา), หิน, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร วิหารพระพุทธไสยาสน์, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, พระเจ้าอะไภยทุฐคามินี, พระเจ้าอภัยทุฐคามณี, ทุฏฐคามณีอภัย, หมู่โยธา, ทศโยธา, หมู่ทหาร, สันทมิตโยธา, บรมกระษัตร, บรมกษัตริย์, พญาช้าง, โภชนาหาร, ลังกา, ศรีลังกา, สีหบุรนคร, อนุราธปุระ, คามินีนคร, ภัตตุภุตะวลประเทศ, หัตถีโจรคาม, สีหปุระ, มหาวงษ์, สิงหล, ทมิฬ, กุณฑลหัตถี, สันทมิตโยธา, ตำนานพุทธศาสนา, พงศาวดารลังกา, แดนเมืองคามมินีนคร, ภัตตุภุตตะวะละประเทศ, งาพญาช้าง, หัตถีโจรคาม, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-รัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-พงศาวดาร, เรื่อง-พงศาวดารลังกา, เรื่อง-ตำนานพระพุทธศาสนา, บุคคล-พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว |
ผนังด้านบนหน้าต่างทางทิศตะวันตกของวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
ไม่ปรากฏศักราช |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/3155?lang=th |
4 |
จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 29 (พระเจ้าทุฏฐคามินีอภัยตีเมืองทมิฬได้) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
เล่าเรื่องมหาวงษ์ซึ่งเป็นพงศาวดารลังกา ตอนพระเจ้าทุฏฐคามินีอภัยตีเมืองทมิฬได้แล้ว ชาว ทมิฬหนีตายข้ามแม่น้ำมายังเมืองวิชิตนคร |
จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 29 (พระเจ้าทุฏฐคามินีอภัยตีเมืองทมิฬได้), จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 29 (พระเจ้าทุฏฐคามินีอภัยตีเมืองทมิฬได้), หิน, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร จังหวัดกรุงเทพมหานคร, วิหารพระพุทธไสยาสน์, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, พระเจ้าอภัยทุฐคามณี, ทุฏฐคามณีอภัย, พระเจ้าอะไภยทุฐคามินี, หมู่โยธา, บรมกระษัตร, บรมกษัตริย์, พลทมิฬแล้ว, ทหารพระเจ้าอไภยทุฐ, เครื่องประดับกาย, สาตราวุธ, อาวุธ, ลังกา, ศรีลังกา, สีหบุรนคร, อนุราธปุระ, สีหปุระ, เมืองทมิฬ, ป่า, นิคม, เมืองวิชิตนคร, มหาวงษ์, สิงหล, ทมิฬ, ตำนานพุทธศาสนา, พงศาวดารลังกา, เปลวเพลิง, ศภ, ศพ, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-รัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-พงศาวดาร, เรื่อง-พงศาวดารลังกา, เรื่อง-ตำนานพระพุทธศาสนา, บุคคล-พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว |
ผนังด้านบนหน้าต่างทางทิศตะวันตกของวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
ไม่ปรากฏศักราช |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/3153?lang=th |
5 |
จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 28 (พระเจ้าทุฏฐคามินียกพลไปตีเมืองทมิฬ) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
เล่าเรื่องมหาวงษ์ซึ่งเป็นพงศาวดารลังกา ตอนพระเจ้าทุฏฐคามินียกพลไปตีเมืองทมิฬได้ถึง 16 เมือง |
จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 28 (พระเจ้าทุฏฐคามินียกพลไปตีเมืองทมิฬ), จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 28 (พระเจ้าทุฏฐคามินียกพลไปตีเมืองทมิฬ), หิน, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร จังหวัดกรุงเทพมหานคร วิหารพระพุทธไสยาสน์, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, อภัยทุฏฐคามินี, ตวรทมิฬ, ทุฏฐคามินีอภัย, ลังกา, ศรีลังกา, สีหบุรนคร, อนุราธปุระ, วหินคร, กัปนคร, ฉินทนคร, ขานุกชนบท, โทณนคร, ทีฆาภัยนคร, ตามพชนบท, เภตนคร, กัจฉกติตถนคร, หาตากนคร, นาลิกนคร, สีหปุระ, มหาวงศ์, สิงหล, ตำนานพุทธศาสนา, พงศาวดารลังกา, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-รัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-พงศาวดาร, เรื่อง-พงศาวดารลังกา, เรื่อง-ตำนานพระพุทธศาสนา, บุคคล-พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว |
ผนังด้านบนหน้าต่างทางทิศตะวันตกของวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
ไม่ปรากฏศักราช |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/3151?lang=th |
6 |
จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 27 (พระเจ้าอภัยทุฏฐออกตามหาพระดิส) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
เล่าเรื่องมหาวงษ์ซึ่งเป็นพงศาวดารลังกาตั้งแต่ตอนพระเจ้าอภัยทุฏฐออกตามหาพระดิส แต่พระสงฆ์ช่วยเหลือจนหลบหนีไปได้ ภายหลังทรงขอให้พระโคธาติกดิสเถระพามาถวายพระพรพระอภัยทุฏฐ แล้วพากันยกพลไปฆ่าฉัตรทมิฬที่มหิยังคประเทศ จนถึงตอนยกพลข้ามแม่น้ำคงคาไปฆ่าพญาทมิฬทั้ง 7 ในเขมาประเทศ |
จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 27 (พระเจ้าอภัยทุฏฐออกตามหาพระดิส), จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 27 (พระเจ้าอภัยทุฏฐออกตามหาพระดิส), หิน, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร จังหวัดกรุงเทพมหานคร วิหารพระพุทธไสยาสน์, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, พระดิศ, อภัยทุฐ, โคธาติกดิศเถระ, โคธาคตดิศเถระ, ทมิฬ, ทุฏฐคามณีอภัย, พระเจ้าอไภยทุฐพระสงฆ์, พระบรมกระษัตร, พระบรมกษัตริย์, พระภิกขุ, พระภิกษุ, พระโคธาติกะดิศเถร, พระเจ้าอไภยทุฐ, พระราชมาดา, ทมิฬ, ฉัตรทมิฬ, ทูต, พญาทะมิฬ, พญาทมิฬ, เหี้ย, เตียง, ผ้าจีวร, หนัง, เรือ, ลังกา, ศรีลังกา, สีหบุรนคร, อนุราธปุระ, มหิยังคประเทศ, เขมาประเทศ, สีหปุระ, อาวาศ, อาวาส, พระวิหาร, มหิยังคะประเทศ, เมืองอำภะติภะนคร, แม่น้ำคงคา, เขมาประเทศ, แต่งการวิวาห์, มหาวงษ์, สิงหล, ตำนานพุทธศาสนา, พงศาวดารลังกา, สาร, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-รัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-พงศาวดาร, เรื่อง-พงศาวดารลังกา, เรื่อง-ตำนานพระพุทธศาสนา, บุคคล-พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว |
ผนังด้านบนหน้าต่างทางทิศตะวันตกของวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
ไม่ปรากฏศักราช |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/3149?lang=th |
7 |
จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 26 (พระคามินีอภัยทูลอาสาไปปราบทมิฬ) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
เล่าเรื่องมหาวงษ์ซึ่งเป็นพงศาวดารลังกา ตั้งแต่ตอนพระคามินีอภัยทูลอาสาไปปราบทมิฬ แต่พระราชบิดาไม่ทรงยินยอม ต่อมาหลบหนีไปและได้นามว่า ทุษฐคามินีอภัย เมื่อพระเจ้ากากวัณดิสราชบิดาสวรรคต พระดิสได้พาราชมารดาและพญากุณฑลหัตถีไปสู่วาปีคามของตน พระทุฏฐคามินีอภัยจึงยกพลมาทำสงครามแต่พ่ายหนีไปถึงฝั่งแม่น้ำกัณฑรนที พระอรหันต์ทั้งปวงช่วยนิมิตเขากั้นทางไว้ พระองค์ถวายกระยาหารแด่พระอรหันต์ ต่อมายกทัพมารบกับพระดิสอีกครั้งจนได้รับชัยชนะ |
จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 26 (พระคามินีอภัยทูลอาสาไปปราบทมิฬ), จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 26 (พระคามินีอภัยทูลอาสาไปปราบทมิฬ), หิน, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร จังหวัดกรุงเทพมหานคร วิหารพระพุทธไสยาสน์, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, คามณีอภัย, คามินีอภัย, กากวัณดิส, กากวรรณดิส, ทุฏฐคามมณีอภัย, อภัยทุฏฐ, กุณฑลหัตถี, พระเจ้ากากะวัณดิศราชบิดา, พระราชบิดา, พระอไภยราชบุต, พระดิศ, ทมิฬ, ทุษฐคามินีอไภย, ดิศมหาวิหาร, อำมาตย์, พระราชมาดา, พญากุณฑลหัดถี, พระทุษฐคามินีอไภย, พระราชอนุชา, พระมาดา, พระดิศ, พระเชษฐา, พระเชฐา, พระอรหัตเจ้า, พระเจ้าอไภยทุฐ, พระอรหรรต์, พญาช้าง, ช้างกุณฑลหัดถี, ม้า, พระกระยาหาร, ขันทอง, อาหาร, บาตร, ลังกา, ศรีลังกา, สีหบุรนคร, อนุราธปุระ, ปยังควิหาร, กัณฑรนที, มหาคาม, สีหปุระ, ทิฆะวาปีคาม, มะไลยชนบท, พระนคร, ทิฆะวาปีคาม, แม่น้ำกัณฑะระนที, วิหาร, อาวาส, ถวายพระเพลิง, มหาวงษ์, สิงหล, ฉัททันต์, สินธพ, อรรคโยธา 10, ตำนานพุทธศาสนา, พงศาวดารลังกา, พระบรมศภ, พระบรมศพ, พระศภ, พระศพ, ข่าวสาร, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-รัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-พงศาวดาร, เรื่อง-พงศาวดารลังกา, เรื่อง-ตำนานพระพุทธศาสนา, บุคคล-พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว |
ผนังด้านบนหน้าต่างทางทิศเหนือของวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
ไม่ปรากฏศักราช |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/3147?lang=th |
8 |
จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 25 (กำเนิดอัครโยธาทั้ง 10) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
เล่าเรื่องมหาวงษ์ซึ่งเป็นพงศาวดารลังกา ตอนกำเนิดอัครโยธาทั้ง 10 |
จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 25 (กำเนิดอัครโยธาทั้ง 10), จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 25 (กำเนิดอัครโยธาทั้ง 10), หิน, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร วิหารพระพุทธไสยาสน์, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, อรรคโยธา, น้องสาว, สันทมิตโยธา, สันธิมิตตะ, มิตเสนา, สุรนิมิล, สูรนิมมละ, มณฑลจิตมานพ, โสณะ, มหาโสณะ, ดิศมานพ, โคธกยิมภร, โคทยิมพระ, มหานาคมานพ, โรหนาภัย, โรหนคหบดี, ภรณะ, กุมารเศรษฐี, เวฬุสุมนะ, วสกกฎุมพี, ขัญชเทพ, ขัญชเทวะ, อภัยมานพ, บุษเทพ, อุบลเศรษฐี, วสภะ, บิดา, สุระนิมิล, มณฑลจิตมานพณ, โคธกะยิมภร, โรหะนาไภย, โรหนะคะหะบดี, โรหนาไภย, เถรบุตาไภย, ภะระณะ, กุมารเศษฐี, เวฬูสุมนะ, วะสะภะกะฏุมพี, ขัญชะเทพ, อะไภยมานพ, บุษเทพ, วะสะภะ, มิตระกะฎุมพี, พระคามมินีอไภยราชบุตร, สุกร, หมู, ซาย, ทราย, กวาง, ม้าสินธพ, กระบือเถื่อน, ควายป่า, ต้นตาล, ก้อนศิลา, สังข์, ก้อนดิน, ลังกา, ศรีลังกา, สีหบุรนคร, อนุราธปุระ, โกฏคาม, บุณฑริกคาม, นินทลจิตคาม, ดิศคาม, กำปกัณฑรคาม, กุลุมภยังคคาม, ปโทนิกคาม, ตวิตคาม, วิหารวาปีคาม, สีหปุระ, เมืองอนุราธ, บ้านโกฎะคาม, บุณฑริกะคาม, บ้านนินทะละจิตคาม, บ้านกำปะกัณฑระคาม, บ้านกุลุมภะ, บ้านปะโทนิกะคาม, บ้านตะวิตะคาม, บ้านวิหาระวาปีคาม, มหาวงษ์, สิงหล, ฉัททันต์, สินธพ, อรรคโยธา 10, ตำนานพุทธศาสนา, พงศาวดารลังกา, เสียงอสุนิบาต, ศิลปสาตธนู, ศิลปศาสตร์ธนู, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-รัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-พงศาวดาร, เรื่อง-พงศาวดารลังกา, เรื่อง-ตำนานพระพุทธศาสนา, บุคคล-พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว |
ผนังด้านบนหน้าต่างทางทิศเหนือของวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
ไม่ปรากฏศักราช |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/3145?lang=th |
9 |
จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 24 (พระนางวิหารเทวีประสูติคามินีอภัยกุมารและดิสกุมาร) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
เล่าเรื่องมหาวงษ์ซึ่งเป็นพงศาวดารลังกา ตอนพระนางวิหารเทวีประสูติพระโอรส นามว่า คามินีอภัยกุมาร และต่อมาได้ประสูติพระโอรสอีกหนึ่งองค์นามว่า ดิสกุมาร พระราชกุมารทูลพระมารดาว่าจะฆ่าหมู่ทมิฬ เมื่อทั้ง 2 เจริญชันษาขึ้นพระคามินีได้ทรงช้างกุณฑลหัตถี |
จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 24 (พระนางวิหารเทวีประสูติคามินีอภัยกุมารและดิสกุมาร), จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 24 (พระนางวิหารเทวีประสูติคามินีอภัยกุมารและดิสกุมาร), หิน, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร วิหารพระพุทธไสยาสน์, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, พระวิหารเทวี, นันทสารถี, ทุฏฐคามมณีอภัย, ทุฏฐคามินีอภัย, ดิสกุมาร, พระราชโอรส, พรานเบจ์, พระบรมกระษัตร, พระบรมกษัตริย์, นายหัดฐาจารย์, พระภิกขุ, พระภิกษุ, พระราชบุตร, คามินี, อไภยกุมาร, ดิศกุมาร, พระสงฆ์, พระราชกุมาร, พระราชบุตร, พระราชมาดา, ทมิฬ, พระราชบิดา, พระคามินี, อะไภย, นางช้างฉัดทันต์, หัดถีโบฎก, กุญชรโบฎก, ช้างกุณฑลหัดถี, ต้นจำปา, ดอกอุบล, เครื่องประดับ, น้ำล้างดาบ, สำเภา, แก้ว, สุพรรณภาชน, เข้าปายาส, ข้าวปายาส, ลังกา, ศรีลังกา, สีหบุรนคร, อนุราธปุระ, กุณฑล, สีหปุระ, สระ, เมืองกุณฑล, พระราชวัง, พระราชนิเวศ, หน้าพระลาน, พุทธศาสนา, มหาวงษ์, สิงหล, ฉัททันต์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-รัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-พงศาวดาร, เรื่อง-พงศาวดารลังกา, เรื่อง-ตำนานพระพุทธศาสนา, บุคคล-พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว |
ผนังด้านบนหน้าต่างทางทิศเหนือของวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
ไม่ปรากฏศักราช |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/3143?lang=th |
10 |
จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 23 (พระวิหารเทวีอาราธนาพระสงฆ์ที่กำลังอาพาธหนักให้เป็นโอรส) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
เล่าเรื่องมหาวงษ์ซึ่งเป็นพงศาวดารลังกา ตอนพระวิหารเทวี มเหสีพระเจ้ากากวัณดิสแห่งโรหนชนบทอาราธนาพระสงฆ์ที่กำลังอาพาธหนักให้เป็นโอรส ต่อมาจึงปฏิสนธิเข้าสู่พระครรภ์ โหรได้ทำนายจากนิมิตของพระนางว่า ราชบุตรในครรภ์จะฆ่าหมู่ทมิฬและเป็นใหญ่ในลังกาทวีป |
จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 23 (พระวิหารเทวีอาราธนาพระสงฆ์ที่กำลังอาพาธหนักให้เป็นโอรส), จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 23 (พระวิหารเทวีอาราธนาพระสงฆ์ที่กำลังอาพาธหนักให้เป็นโอรส), หิน, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร วิหารพระพุทธไสยาสน์, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, กากวัณดิส, พระเจ้ากากวรรณดิส, พระเจ้ากากะวัณดิศ, วิหารเทวี, เวฬุสุมนะ, นันทสารถี, พระมเหษีชื่อพระวิหารเทวี, พระสงฆ์, พระสามเณร, พระราชสามี, ทหารพระเจ้าเอฬาระราช, บรมกระษัตร, บรมกษัตริย์, โหร, พระราชบุตร์, ทมิฬ, พรานชรา, เวฬุสุมณะโยธา, นายม้าต้น, นันทสารถี, พญาเอฬาระราช, พระราชเทวี, ม้าต้นวาหะอัศดร, ม้าต้นศิริคุตอัศดร, รถ, ดุมรถ, รวงผึ้ง, ดอกอุบล, รวงผึ้งใหญ่, ดาบ, ลังกา, ศรีลังกา, สีหบุรนคร, อนุราธปุระ, โรหนชนบท, โกฐบรรพตวิหาร, สีหปุระ, ระโหนะชนบท, โกฐบรรพตวิหาร, พระราชนิเวศ, พระอาราม, ลังกาทวีป, ป่า, สระ, ปตูเมือง, ประตูเมือง, โรหนะชนบท, พุทธศาสนา, ทำฌาปณะกิจ์ศภ, ฌาปนกิจศพ, มหาวงษ์, สิงหล, ศิริคุตอัศดร, ทมิฬ, ตำนานพุทธศาสนา, พงศาวดารลังกา, นิมิต, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-รัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-พงศาวดาร, เรื่อง-พงศาวดารลังกา, เรื่อง-ตำนานพระพุทธศาสนา, บุคคล-พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว |
ผนังด้านบนหน้าต่างทางทิศเหนือของวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
ไม่ปรากฏศักราช |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/3141?lang=th |
11 |
จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 22 (พระเจ้าเอฬารราชโปรดให้แขวนระฆังเพื่อให้ราษฎรมาร้องทุกข์) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
เล่าเรื่องมหาวงษ์ซึ่งเป็นพงศาวดารลังกา ตอนที่กล่าวถึงการปกครองด้วยทศพิธราชธรรมของ พระเจ้าเอฬารราช ซึ่งโปรดให้แขวนระฆังเพื่อให้ราษฎรมาร้องทุกข์ และทรงตัดสินด้วยความยุติธรรม ไม่มีการยกเว้นโทษแม้แต่พระราชบุตรรวมถึงพระองค์เอง จึงได้รับการสรรเสริญจากราษฎรเป็นอันมาก |
จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 22 (พระเจ้าเอฬารราชโปรดให้แขวนระฆังเพื่อให้ราษฎรมาร้องทุกข์), จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 22 (พระเจ้าเอฬารราชโปรดให้แขวนระฆังเพื่อให้ราษฎรมาร้องทุกข์), หิน, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร วิหารพระพุทธไสยาสน์, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, พระเจ้าเอฬาระราช, เอฬารราช, พระราชบุตร์, ราชบุรุษ, พระสงฆ์, หมู่โยธา, นายสารถี, อำมาตย์, ลูกโค, แม่โค, ลูกวัว, แม่วัว, แม่นก, งู, ต้นตาล, รฆัง, ระฆัง, รถ, จักรรถ, รังนก, สกุณโปฎก, อิฐ, เข้า, ข้าว, ลังกา, ศรีลังกา, สีหบุรนคร, อนุราธปุระ, เจดียบรรพตวิหาร, ดิศวาปี, สีหปุระ, โรงวินิจไฉย, ดิศวาบีสระ, ดิศวาปีสระ, เจดีย์บรรพตวิหาร, พระเจดีย์, ปราสาท, ปติสังขรพระเจดีย์, ปฏิสังขรณ์พระเจดีย์, อุปวาศวัตวิธีบรรทม, ปชุมเทพบุตร์, ประชุมเทพบุตร, มหาวงษ์, สิงหล, ทมิฬ, พงศาวดารลังกา, ตำนานพุทธศาสนา, กหาปณะ, พลิคาหกเทวบุตร์, ฝนตก, พลีกะเทวบุตร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-รัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-พงศาวดาร, เรื่อง-พงศาวดารลังกา, เรื่อง-ตำนานพระพุทธศาสนา, บุคคล-พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว |
ผนังด้านบนหน้าต่างทางทิศเหนือของวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
ไม่ปรากฏศักราช |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/3139?lang=th |
12 |
จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 21 (พระเจ้าอุติยราชได้ครองราชย์) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
เล่าเรื่องมหาวงษ์ซึ่งเป็นพงศาวดารลังกา ตั้งแต่ตอนพระเจ้าอุติยราชได้ครองราชย์ พระมหินทรเถระเข้าสู่นิพพาน เมื่อพระเจ้าอุติยราชสวรรคต พระเจ้ามหาสิวราช และ พระเจ้าสุรดิสได้ครองราชย์สืบมาตามลำดับ ต่อมาทมิฬยกพลมาโจมตีเมือง ฆ่าพระเจ้าสุระดิส อเสลราชบุตรมาช่วยปราบทมิฬ ได้ครองราชสมบัติ 10 ปี พระเจ้าเอฬารราชยกพลจากสาธุรัฐนครมาโจมตี ฆ่าพระเจ้าอเสลราช ได้ครองอนุราธปุระ ปกครองด้วยทศพิธราชธรรม |
จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 21 (พระเจ้าอุติยราชได้ครองราชย์), จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 21 (พระเจ้าอุติยราชได้ครองราชย์), หิน, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร วิหารพระพุทธไสยาสน์, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, พระเจ้าเทวานัมปิยดิศ, พระเจ้าเทวานัมปิยะดิศ, พระเจ้าอุติยราช, พระเจ้าอุติยะราชอนุชา, พระมหินทรเถระ, พระเจ้าสุรดิส, ปเสนทมิฬ, คูนิกทมิฬ, สัสนานิกทมิฬ, มุตศิวราช, เอฬารทมิฬ, อเสลราช, บรมกระษัตร, บรมกษัตริย์, พระเจ้ามหาสิวะราชอนุชา, พระเจ้าสุระดิศ, ปะเสนะทมิฬ, คูนิกะทมิฬ, บุตร์, บุตร, สัศสะนาวิกะทมิฬ, พระราชกุมาร, อะเสละราช, พระเจ้ามุฅสิวะราช, พระเจ้าอไภยราช, พญาทมิฬ, อำมาตย์, พญาเอฬาระทมิฬ, พระเจ้าเอฬาระราช, ลังกา, ศรีลังกา, สีหบุรนคร, ปาฏลีบุตร, อนุราฐปุระ, สาธุรัฐนคร, สีหปุระ, กรุงอนุราธ, กุฏาคาระปราสาท, สาธุรัฐนคร, ฌาปณะกิจ, ฌาปนกิจ, ก่อเจดีย์, สร้างเจดีย์, มหาวงษ์, สิงหล, บรมธาตุ, สารีริกธาตุ, ศรีมหาโพธิ, ตำนานพุทธศาสนา, พงศาวดารลังกา, นิบพาน, นิพพาน, ราชสมบัติ, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-รัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-พงศาวดาร, เรื่อง-พงศาวดารลังกา, เรื่อง-ตำนานพระพุทธศาสนา, บุคคล-พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว |
ผนังด้านบนหน้าต่างทางทิศเหนือของวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
ไม่ปรากฏศักราช |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/3137?lang=th |
13 |
จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 20 (พระเจ้าเทวานัมปิยดิศโปรดให้ก่อเจดีย์บรรจุพระบรมธาตุ) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
เล่าเรื่องมหาวงษ์ซึ่งเป็นพงศาวดารลังกา ตั้งแต่ตอนพระเจ้าเทวานัมปิยดิศโปรดให้ก่อเจดีย์บรรจุพระบรมธาตุ โดยปลูกพระศรีมหาโพธิไว้ที่ฐาน ต่อมาพระเจ้าศรีธรรมาโศกราชสวรรคตเพราะเสียพระทัยที่มเหสีใหม่ทำลายพระศรีมหาโพธิ จนถึงตอนพระเจ้าเทวานัมปิยดิศสวรรคตขณะที่ครองเมืองอนุราธปุระได้ 40 ปี |
จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 20 (พระเจ้าเทวานัมปิยดิศโปรดให้ก่อเจดีย์บรรจุพระบรมธาตุ), จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 20 (พระเจ้าเทวานัมปิยดิศโปรดให้ก่อเจดีย์บรรจุพระบรมธาตุ), หิน, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร วิหารพระพุทธไสยาสน์, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, พระเจ้าเทวานัมปิยดิศ, พระเจ้าเทวานัมปิยะดิศ, มหินทรเถร, พระสังฆมิตภิกขุณี, ศรีธรรมาโศกราช, คิศราช, อสันทมิตตะ, พระมัตตาไภย, ราชอนุชา, ราชบุรุษย์, พระอรหัต์, พระอรหันต์, พระอริฐราชนัดดา, พระเจ้าศรีธรรมาโสกราช, พระราชธิดา, พระภิกขุนีอรหัต์, พระภิกขุนีอรหันต์, พระเถรี, พระอรหัต์, พระอรหันต์, พระผู้เปนเจ้า, พระผู้เป็นเจ้า, พระมหาโพธิ, บรมกระษัตร, บรมกษัตริย์, ราชนัดดา, ภิกขุ, พระอริฐ, พระนางอนุลา, บริวาร, ภิกษุนี, พระนางอสันทมิตมเหษี, พระนางอสันทมิตมเหสี, พระเจ้าศรีธรรมาโศก, นางคิศราชกัลยา, พระเจ้าศรีธรรมาโสก, นาค, ครุทธ์, ครุฑชื้อ} มหาโพธิ, ลอมฟาง, เครื่องบรรณาการ, กิ่งพระมหาโพธิ, เรือสำเภา, ราชสมบัติสถานที่ : ลังกา, ศรีลังกา, ชมพูโลกณะ, ปาฏลีบุตร, อาฬหกวิหาร, อนุราธปุระ, สีหปุระ, พระสถูป, กรุงปาตลีบุต, มหาสมุท, ท้องชเล, ท้องทะเล, นาคพิภพ, ท่าชมภูโลกณะลังกาทวีป, เจดียฐาน, พระวิหาร, อาฬะหะกะ, กรุงอนุรา, พุทธศาสนา, ก่อพระเจดีย์, ปจุพระบรมธาตุ, บรรจุพระบรมธาตุ, บรรพชา, ปลูกมหาโพธิ, บำเพ็ญพระราชกุศล, ทำบุญ, มหาวงษ์, สิงหล, บรมธาตุ, สารีริกธาตุ, ศรีมหาโพธิ, ตำนานพุทธศาสนา, พงศาวดารลังกา, เทพยดา, พยุ, พายุ, เงี่ยงกระเบน |
ผนังด้านบนหน้าต่างทางทิศใต้ของวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
ไม่ปรากฏศักราช |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/3135?lang=th |
14 |
จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 19 (พระสุมนนำพระบรมธาตุมาถวายพระมหินทรเถระ) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
เล่าเรื่องมหาวงษ์ซึ่งเป็นพงศาวดารลังกา ตอนพระสุมนนำพระบรมธาตุมาถวายพระมหินทรเถระ มนุษย์และเทวดาร่วมกันบูชาพระบรมธาตุแล้วอัญเชิญมายังเมืองอนุราธปุระ |
จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 19 (พระสุมนนำพระบรมธาตุมาถวายพระมหินทรเถระ), จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 19 (พระสุมนนำพระบรมธาตุมาถวายพระมหินทรเถระ), หิน, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร วิหารพระพุทธไสยาสน์, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, เทวานัมปิยดิศ, พระมหินทรเถระ, สุมน, พระสุมณะสามเณร, ราชบริสัช, ราชบริษัท, พระมหาเถร, พระพุทธจ้าว, ช้าง, ผะอบ, ผอบ, เสวตรฉัต, ดิน, ลังกา, ศรีลังกา, สีหบุรนคร, สีหปุระ, อนุราธปุระ, เขาเจดียบรรพต, เมืองอนุราช, ศาลมเหชวัตถุยักษ์ริมถูปาราม, สระอไภยวาปี, มหาวงษ์, สิงหล, พระบรมธาตุ, พระบรมธาตุ์, สารีริกธาตุ, ศรีมหาโพธิ, พระธาตุ์, ตระพองพญาช้าง, พระพุทธบริขาร, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-รัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-พงศาวดาร, เรื่อง-พงศาวดารลังกา, เรื่อง-ตำนานพระพุทธศาสนา, บุคคล-พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, ไม่มีรูป |
ผนังด้านบนหน้าต่างทางทิศตะวันออกของวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
ไม่ปรากฏศักราช |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/3133?lang=th |
15 |
จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 18 (มีราชสาส์นไปขอพระสังฆมิตตาเถรีมาสู่ลังกาทวีปเพื่ออุปสมบทภิกษุณี) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
เล่าเรื่องมหาวงษ์ซึ่งเป็นพงศาวดารลังกา ตอนมีราชสาส์นไปขอพระสังฆมิตตาเถรีมาสู่ลังกาทวีปเพื่ออุปสมบทภิกษุณี และขอกิ่งพระศรีมหาโพธิมาประดิษฐาน การกำหนดเขตสีมาวัดโชติวันดิสสาราม จากนั้นพระสุมนได้เหาะไปยังเมืองปาตลีบุตรขอพระบรมธาตุจากพระเจ้าศรีธรรมาโศกราชและพระรากขวัญเบื้องขวาจากพระอินทร์ลงมา |
จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 18 (มีราชสาส์นไปขอพระสังฆมิตตาเถรีมาสู่ลังกาทวีปเพื่ออุปสมบทภิกษุณี), จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 18 (มีราชสาส์นไปขอพระสังฆมิตตาเถรีมาสู่ลังกาทวีปเพื่ออุปสมบทภิกษุณี), จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 18, จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 18, หิน, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร วิหารพระพุทธไสยาสน์, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, บัณฑุกาภัย, พระเจ้าศรีธรรมาโศกราช, สังฆมิตตาเถรี, มหินทรเถระ, สุมน, บรมกระษัตร, บรมกษัตริย์, พระเถรเจ้า, พระนางอนุลาราชเทวี, พระมหาเถร, นางบริวาร, ชาวลังกา, กษัตริย์, มหาชนก, พระสุมณะสามเณร, พระเจ้าศรีธรรมาโสก, สมเด็จพระอำมรินทราธิราช, พญาคชสาร, ช้างชื่อ, มหาโพธ์, มหาโพธิ์, ราชสาร, แอก, ไถ, พระรากขวัน, พระรากขวัญ, ลังกาทวีป, ศรีลังกา, สีหบุรนคร, มิสกบรรพต, ปาฏลีบุตร, โชติวันดิสาราม, สีหปุระ, พระภิกษุณี, เมฆวันอุทธยาน, เมืองปาตลิบุตร์, พระสังฆมิตตาเถรี, พระสงฆ์, อุโบสถ, มหาเมฆวันดิศาราม, เขตสีมา, แม่น้ำกทัมพนที, พระวิหาร, ทวดึงษ, ดาวดึงษ์, ถูปาราม, พระบรมธาตุ, หลุมสีมา, โชติวัณดิสาราม, โลหะปราสาท, เมืองปาตะลีบุต, พุทธศาสนา, บรรพชา, อุปสมบท, ผูกพัทธสีมา, หลั่งน้ำทักขิโณทก, สร้างโลหะปราสาท, มหาวงษ์, สิงหล, บรมธาตุ, สารีริกธาตุ, ศรีมหาโพธิ, พงศาวดารลังกา, ตำนานพุทธศาสนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-รัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-พงศาวดาร, เรื่อง-พงศาวดารลังกา, เรื่อง-ตำนานพระพุทธศาสนา, บุคคล-พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, ไม่มีรูป |
ผนังด้านบนหน้าต่างทางทิศตะวันออกของวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
ไม่ปรากฏศักราช |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/3131?lang=th |
16 |
จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 17 (พระมหินทรเถระแสดงธรรมเทศนาแก่พระเจ้าเทวานัมปิยดิศและชาวลังกา) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
เล่าเรื่องมหาวงษ์ซึ่งเป็นพงศาวดารลังกา ตอนพระมหินทรเถระแสดงธรรมเทศนาแก่พระเจ้าเทวานัมปิยดิศและชาวลังกาทั้งปวง |
จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 17 (พระมหินทรเถระแสดงธรรมเทศนาแก่พระเจ้าเทวานัมปิยดิศและชาวลังกา), จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 17 (พระมหินทรเถระแสดงธรรมเทศนาแก่พระเจ้าเทวานัมปิยดิศและชาวลังกา), หิน, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร วิหารพระพุทธไสยาสน์, สยาม, ไทย , จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, ปัณฑุกาไภย, เทวานัมปิยดิศ, อนุลาราชเทวี, มหินทรเถระ, สุมน, ลังกา, ศรีลังกา, มิสกบรรพต, สีหปุระ, มหาวงษ์, สิงหล, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-รัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-พงศาวดาร, เรื่อง-พงศาวดารลังกา, เรื่อง-ตำนานพระพุทธศาสนา, บุคคล-พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว |
ผนังด้านบนหน้าต่างทางทิศใต้ของวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
ไม่ปรากฏศักราช |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/3129?lang=th |
17 |
จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 16 (บัณฑุกาภัยตีทัพพระเจ้าลุงแตก) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
เล่าเรื่องมหาวงษ์ซึ่งเป็นพงศาวดารลังกา ตอนบัณฑุกาภัยตีทัพพระเจ้าลุงแตก ได้ร่วมสังวาสกับนางเปติยักษ์แล้วพากันเข้าโจมตีอุปดิศคาม ตัดพระเศียรพระเจ้าลุงทั้ง 9 แล้วครองราชย์แทน โดยยกนางบาลีขึ้นเป็นมเหษี เสวยราชย์ได้ 70 ปีก็สวรรคต มุตศิวะราชบุตรได้ครองราชย์แทน เมื่อสวรรคตพระเจ้าเทวานัมปิยดิศ ราชบุตรองค์ที่ 2 ได้ครองราชย์ต่อมา พระองค์โปรดให้แต่งเครื่องบรรณาการลงสำเภามาถวายพระเจ้าศรีธรรมาโศกราชแห่งเมืองปาตลีบุตร กษัตริย์ทั้งสองได้เป็นพระสหายกัน พระมหินทรเถระและพระอรหันต์ พากันเหาะมาสู่ลังกาทวีป |
จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 16 (บัณฑุกาภัยตีทัพพระเจ้าลุงแตก), จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 16 (บัณฑุกาภัยตีทัพพระเจ้าลุงแตก), หิน, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร วิหารพระพุทธไสยาสน์, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, พระปัณฑุกาไภย, จันทพราหมณ์, สุวรรณบาฬี, สุวรรณบาลี, มุตศิวะ, เทวานัมปิยดิศ, มหินทรเถระ, สุมน, พระเจ้าลุง, นางสุวรรณบาฬี, พระเจ้าลุง, มะเหษี, มเหสี, พระอไภยราช, ยักษณีเวศ, บิตุลา, ปิตุลา, ผู้ใหญ่, พระเจ้าปัณฏุกาไภย, พระเจ้ามุตศิวะราช, พระราชโอรส, พระราชบุตร, พระเจ้าเทวานัมปิยะดิศราชบุต, กระษัตร, พระเจ้าศรีธรรมาโศกราช, นางพระสนม, ราชอำมาตย์, นักขัตฤกษ์, พระมหินทเถร, พระอรหันต์, พระสุมณะสามเณร, บัณฎกกุมาร, พระอนาคา, ราชสมบัติ, แก้วทอง, ลำไม้ไผ่, ราชสาร, เครื่องบรรณาการ, สำเภา, เครื่องราชาภิเษก, ลังกา, ศรีลังกา, สีหบุรนคร, สีหปุระ, สระ, อุปดิษคาม, เมืองอนุราช, อาศรมบ้านจันทาน, อาวาศนิครณฐ์, นครคุต, มะหาสมุท, มหาสมุทร, ปัตภี, ลังกาทวีป, เมืองปาตลิบุต, พุทธศาสนา, มหาวงษ์, สิงหล, ตำนานพุทธศาสนา, พงศาวดารลังกา, นางฟ้า, ยักษิณี, เปติยักษ์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-รัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-พงศาวดาร, เรื่อง-พงศาวดารลังกา, เรื่อง-ตำนานพระพุทธศาสนา, บุคคล-พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว |
ผนังด้านบนหน้าต่างทางทิศใต้ของวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
ไม่ปรากฏศักราช |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/3127?lang=th |
18 |
จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 15 (บัณฑุกาภัยได้พบนางบาลีราชธิดาของพระเจ้าคิริกัณฑกะศิวะ) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
เล่าเรื่องมหาวงษ์ซึ่งเป็นพงศาวดารลังกา ตั้งแต่ตอนบัณฑุกาภัยกับจันทพราหมณ์มาตั้งบ้านเรือนอยู่ที่บ้านคิริกัณฑกะบรรพต ได้พบนางบาลี ราชธิดาของพระเจ้าคิริกัณฑกะศิวะผู้เป็นลุง ทั้งสองได้ร่วมสังวาสกัน พระเชษฐา 5 พระองค์ของนางบาลียกพลตามไป จันทพราหมณ์แผลงศรฆ่าตายทั้งหมด พระเจ้าลุงทั้ง 9 จึงยกพลมารบกับบัณฑุกาภัย |
จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 15 (บัณฑุกาภัยได้พบนางบาลีราชธิดาของพระเจ้าคิริกัณฑกะศิวะ), จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 15 (บัณฑุกาภัยได้พบนางบาลีราชธิดาของพระเจ้าคิริกัณฑกะศิวะ)5, หิน, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร วิหารพระพุทธไสยาสน์, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, เจ้าปัณฑุกาไภย, จันทพราหมณ์, บาลีราชธิดา, บัณฑุกาภัย, พระเจ้าคิริกัณฑกะสิวะ, บริวาร, นางบาฬี, ราชธิดา, พระบิดา, กุมาร, พระเจ้าลุง, พระราชนัดา, พระราชนัดดา, ไทรย์, อาหาร, ภาชนะทอง, ใบไม้, ทองคำ, รถ, ศร, เรือ, ลังกา, ศรีลังกา, สีหบุรนคร, คิริกัณฑกะบรรพพต, สิงหปุระ, ป่า, บ้านริมฝั่งน้ำ, อุปดิษคาม, พุทธศาสนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-รัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-พงศาวดาร, เรื่อง-พงศาวดารลังกา, เรื่อง-ตำนานพระพุทธศาสนา, บุคคล-พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว |
ผนังด้านบนหน้าต่างทางทิศใต้ของวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
ไม่ปรากฏศักราช |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/3125?lang=th |
19 |
จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 14 (ขุนส่วยส่งบัณฑุกาภัยไปเรียนศิลปศาสตร์กับจันทพราหมณ์) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
เล่าเรื่องมหาวงษ์ซึ่งเป็นพงศาวดารลังกา ตอนพระเชษฐาทั้ง 9 ของนางอุมาทจิตรเกิดทราบเรื่องบัณฑุกาภัยกุมาร จึงสั่งให้ตามฆ่าหลายครั้ง ครั้งหนึ่งบุตรขุนส่วยและเด็กเลี้ยงโคถูกฆ่าตายแทน ขุนส่วยจึงส่งบัณฑุกาภัยไปเรียนศิลปศาสตร์กับจันทพราหมณ์จนชำนาญ |
จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 14 (ขุนส่วยส่งบัณฑุกาภัยไปเรียนศิลปศาสตร์กับจันทพราหมณ์), จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 14 (ขุนส่วยส่งบัณฑุกาภัยไปเรียนศิลปศาสตร์กับจันทพราหมณ์), หิน, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร, วิหารพระพุทธไสยาสน์, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, ราชบุรุษ, พระเจ้าลุง, รัตนโกสินทร์, เจ้าปัณฑุกาไภย, เจ้าบัณฑุกาภัย, ทารก, พระบิตุลา, อำมาตย์, บุตรขุนส่วย, มณฑลพราหมณ์, จันทพราหมณ์, ค, วัว, ทราย, กวาง, เนื้อ, ผ้านุ่ง, ไฟ, ลังกา, ศรีลังกา, สีหบุรนคร, สีหปุระ, สระน้ำนอกบ้าน, โพรงกุ่ม, พุทธศาสนา, มหาวงษ์, สิงหล, ตำนานพุทธศาสนา, พงศาวดารลังกา, ศิลปศาสตร์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-รัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-พงศาวดาร, เรื่อง-พงศาวดารลังกา, เรื่อง-ตำนานพระพุทธศาสนา, บุคคล-พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว |
ผนังด้านบนหน้าต่างทางทิศใต้ของวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
ไม่ปรากฏศักราช |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/3123?lang=th |
20 |
จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 13 (นางอุมาทจิตรนำผอบใส่บัณฑุกาภัยกุมารให้นางทาสไปส่งแก่ขุนส่วย) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
เล่าเรื่องมหาวงษ์ซึ่งเป็นพงศาวดารลังกา ตอนนางอุมาทจิตรนำผอบใส่บัณฑุกาภัยกุมารให้นางทาสไปส่งแก่ขุนส่วยที่บ้านมณฑลคาม ระหว่างทางไปพบพระเชษฐาทั้ง 9 พระองค์ แต่ยักษ์ 2 ตนที่รักษากุมารอยู่ได้ช่วยไว้ ขุนส่วยรับเลี้ยงกุมารไว้พร้อมบุตรของตน |
จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 13 (นางอุมาทจิตรนำผอบใส่บัณฑุกาภัยกุมารให้นางทาสไปส่งแก่ขุนส่วย), จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 13 (นางอุมาทจิตรนำผอบใส่บัณฑุกาภัยกุมารให้นางทาสไปส่งแก่ขุนส่วย), หิน, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร วิหารพระพุทธไสยาสน์, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, นางอุมาทจิตร, นางอุมาทจิตร์, กุมภกทาสี, เจ้าปัณฑุกาไภยกุมาร, บุตร์, นางกุมภะกะทาสี, ขุนส่วย, พระเชฐา, พระเซษฐา, บริวาร, นางทาษี, นางทาสี, นางกุมภะกะทาษี, พระราชบุต, ขุนส่วย, ภรรยา, แฝด, ชาวบ้าน, ทารก, ม้า, เนื้อ, กวาง, สุกรเถื่อน, หมูเถื่อน, ทรัพย์, ผะอบ, ผอบ, กระเช้า, หยากเยื่อ, ขนมน้ำอ้อย, ลังกา, ศรีลังกา, สีหบุรนคร, บ้านมณฑลคาม, สีหปุระ, ป่า, มหาวงษ์, สิงหล, พงศาวดารลังกา, ตำนานพุทธศาสนา, กะหาปณะ, ยักษ์, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-รัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-พงศาวดาร, เรื่อง-พงศาวดารลังกา, เรื่อง-ตำนานพระพุทธศาสนา, บุคคล-พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว |
ผนังด้านบนหน้าต่างทางทิศใต้ของวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
ไม่ปรากฏศักราช |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/3121?lang=th |
21 |
จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 12 (พระนางอุมาทจิตรคลอดพระโอรสจึงใด้สลับตัวกับธิดาของหญิงผู้หนึ่ง) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
เล่าเรื่องมหาวงษ์ซึ่งเป็นพงศาวดารลังกา ตั้งแต่ตอนพระนางอุมาทจิตรคลอดพระโอรสให้นามว่าปัณฑุกาภัยกุมาร พระสวามีจึงให้สลับตัวกับธิดาของหญิงผู้หนึ่ง พระเชษฐาทั้ง 10 จึงวางพระทัย ในวันที่คลอดนั้นเองพระเจ้าปัณฑุวาสุเทพเสด็จสวรรคตหลังจากครองลังกาทวีปได้ 32 ปี พระอภัยราชโอรสองค์โตได้ขึ้นครองราชย์แทน |
จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 12 (พระนางอุมาทจิตรคลอดพระโอรสจึงใด้สลับตัวกับธิดาของหญิงผู้หนึ่ง), จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 12 (พระนางอุมาทจิตรคลอดพระโอรสจึงใด้สลับตัวกับธิดาของหญิงผู้หนึ่ง), หิน, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร, วิหารพระพุทธไสยาสน์, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, พระเจ้าปัณฏุวาสุเทพ, พระเจ้าบัณฑวาสุเทพ, พระเจ้าปัณฑุสากยราช, ทีฆคามมณี, นางอุมาทจิตร์, อภัยราช, ปัณฑุกาไภย, ทีฆามินี, เจ้าบัณฑุกาไภย, เจ้าบัณฑกาภัย, เจ้าบัณฑุกาภัย, พระทิฆะคามินี, พระเชษฐา, บุตร, กุมาร, ทาริกา, พระขนิษฐา, พระราชบิดา, มาดา, พระไอยกี, พระอไภยราชโอรส, ลังกาทวีป, ศรีลังกา, สีหปุระศาสนา, ฌาปนกิจพระบรมศพ, มหาวงษ์, สิงหล, ตำนานพุทธศาสนา, พงศาวดารลังกา, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-รัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-พงศาวดาร, เรื่อง-พงศาวดารลังกา, เรื่อง-ตำนานพระพุทธศาสนา, บุคคล-พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว |
ผนังด้านบนหน้าต่างทางทิศใต้ของวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
ไม่ปรากฏศักราช |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/3119?lang=th |
22 |
จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 11 (พระเจ้าบัณฑุวาสุเทพอนุญาตให้เจ้าทีฆามินีอภิเษกกับนางอุมาทจิตร) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
เล่าเรื่องมหาวงษ์ซึ่งเป็นพงศาวดารลังกา ตอนพระเจ้าบัณฑุวาสุเทพอนุญาตให้เจ้าทีฆามินีอภิเษกกับนางอุมาทจิตร และพระเชษฐาทั้ง 10 ปรึกษากันว่าหากนางคลอดบุตรเป็นชายจะฆ่าให้ตาย |
จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 11 (พระเจ้าบัณฑุวาสุเทพอนุญาตให้เจ้าทีฆามินีอภิเษกกับนางอุมาทจิตร), จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 11 (พระเจ้าบัณฑุวาสุเทพอนุญาตให้เจ้าทีฆามินีอภิเษกกับนางอุมาทจิตร), หิน, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร วิหารพระพุทธไสยาสน์, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, พระเจ้าปัณฏุวาสุเทพ, พระราชบุตรี, เจ้าทิฆะคามินี, พระเจ้าบัณฑุวาสุเทพ, พระเจ้าปัณฑุสากยราช, เจ้าทีฆคามินี, นางอุมาทจิตร, โคตกทาส, กระษัตร, สามีภิริยา, กษัตริย์, นางอุมาทจิตร์, พระเชษฐา, โคตะกะทาษ, โคตะกะทาส, บุตร์, กาฬเวละทาษ, กาฬเวละทาส, พระน้องหญิง, ทาษ, ทาส, พระราชกุมาร, กาฬเวลทาส, ลังกา, ศรีลังกา, สีหบุรนคร, สีหปุระ, มหาวงษ์, สิงหล, ตำนานพุทธศาสนา, พงศาวดารลังกา, ยักษ์ปีศาจ, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-รัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-พงศาวดาร, เรื่อง-พงศาวดารลังกา, เรื่อง-ตำนานพระพุทธศาสนา, บุคคล-พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว |
ผนังด้านบนหน้าต่างทางทิศตะวันออกของวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
ไม่ปรากฏศักราช |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/3117?lang=th |
23 |
จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 10 (พระเจ้าบัณฑุวาสุเทพสร้างราชนิคมให้พระเชษฐาของนางภัทธกัจจาย) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
เล่าเรื่องมหาวงษ์ซึ่งเป็นพงศาวดารลังกา ตั้งแต่ตอนพระเจ้าบัณฑุวาสุเทพสร้างราชนิคมให้พระเชษฐาทั้ง 6 พระองค์ของนางภัทธกัจจาย ต่อมาเจ้าทีฆามินี ได้พบนางจิตรากุมารีหรือนางอุมาทจิตรซึ่งประทับอยู่บนปราสาทเสาเดียว ทั้งสองมีใจต่อกัน พระฑิฆามินีจึงปีนปราสาทขึ้นไปสังวาสกับนางจนทรงครรภ์ |
จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 10 (พระเจ้าบัณฑุวาสุเทพสร้างราชนิคมให้พระเชษฐาของนางภัทธกัจจาย), จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 10 (พระเจ้าบัณฑุวาสุเทพสร้างราชนิคมให้พระเชษฐาของนางภัทธกัจจาย), หิน, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร, วิหารพระพุทธไสยาสน์, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, พระเจ้าปัณฏุวาสุเทพ, พระเจ้าบัณฑวาสุเทพ, พระเจ้าปัณฑุสากยราช, อภัยเชษฐา, ภัทธกัจจาย, เจ้าทีฆคามินี, นางอุมาทจิตร, ทีฆาวุกุมาร, กระษัตร, พระน้อง, พระเชษฐา, พระอรรครมเหษี, นางพัทกะจาย, เจ้าทิฆะคามินี, บุตร, พระทีฆาวุกุมาร, อุมาทจิตร์, พระเจ้าอาว์, นางพัทกจาย, ราชบุตร์, พระมาตุลราชล, เครื่องอุปโภคบริโภค, ลังกาทวีป, ศรีลังกา, สิงหปุระ, สีหปุระ, พระราชนิเวศ, ราชนิคม, ปราสาทเสาเดียว, มหาวงศ์, สิงหล, ตำนานพุทธศาสนา, พงศาวดารลังกา, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-รัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-พงศาวดาร, เรื่อง-พงศาวดารลังกา, เรื่อง-ตำนานพระพุทธศาสนา, บุคคล-พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว |
ผนังด้านบนหน้าต่างทางทิศตะวันออกของวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
ไม่ปรากฏศักราช |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/3115?lang=th |
24 |
จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 9 (พราหมณ์ทำนายว่าโอรสของนางจิตรากุมารีจะฆ่าพระเชษฐาของนาง) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
เล่าเรื่องมหาวงษ์ซึ่งเป็นพงศาวดารลังกา ตั้งแต่ตอนพราหมณ์ทำนายว่าโอรสของนางจิตรากุมารีจะฆ่าพระเชษฐา 10 พระองค์ของนาง ราชบุตรทั้ง 9 จึงคิดจะฆ่านางเสีย แต่พระอภัยเชษฐาห้ามไว้ โดยให้สร้างปราสาทเสาเดียวให้นางอยู่ ไม่ให้มีใครเข้าออกได้ จนถึงตอนพระเจ้าบัณฎุสากยราชเดินทางมาเยี่ยมพระนางภัทธกัจจายที่ลังกาทวีปพร้อมด้วยราชบุตร 6 พระองค์ผู้เป็นเชษฐาของนาง |
จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 9 (พราหมณ์ทำนายว่าโอรสของนางจิตรากุมารีจะฆ่าพระเชษฐาของนาง), จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 9 (พราหมณ์ทำนายว่าโอรสของนางจิตรากุมารีจะฆ่าพระเชษฐาของนาง), หิน, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร วิหารพระพุทธไสยาสน์, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, พระเจ้าปัณฏุวาสุเทพ, พระเจ้าบัณฑวาสุเทพ, พระเจ้าปัณฑุสากยราช, พระเจ้าอภัยเชษฐา, ภัทธกัจจาย, พฤฒาจาร, พระราชธิดา, พราหมณ์, พระเจ้าลุง, พระราชบุตร, พระขนิฐภักขินี, นางจิตรกุมารี, ทาษีค่อม, ทาสีค่อม, พระพัทกะจายราชบุตรี, นพระอรรคมเหษี, นางพัทกะจาย, พระเชษฐา, สำเภา, ลังกาทวีป, ศรีลังกา, สีหปุระ, อุปดิษคาม, อุปติส, ปราสาทเสาเดียว, พุทธศาสนา, พยากรณ์, มหาวงศ์, สิงหล, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-รัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-พงศาวดาร, เรื่อง-พงศาวดารลังกา, เรื่อง-ตำนานพระพุทธศาสนา, บุคคล-พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว |
ผนังด้านบนหน้าต่างทางทิศตะวันออกของวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
ไม่ปรากฏศักราช |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/3113?lang=th |
25 |
จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 8 (พระปัณฎุวาสุเทพอภิเษกกับนางภัทธกัจจาย) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
เล่าเรื่องมหาวงษ์ซึ่งเป็นพงศาวดารลังกา ตอนพระปัณฎุวาสุเทพอภิเษกกับนางภัทธกัจจาย พระราชธิดาของพระเจ้าปัณฎุสากยราชมีราชบุตร 10 องค์ และธิดาสุดท้อง 1 องค์นามว่าจิตรากุมารี |
จจารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 8 (พระปัณฎุวาสุเทพอภิเษกกับนางภัทธกัจจาย), จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 8 (พระปัณฎุวาสุเทพอภิเษกกับนางภัทธกัจจาย), หิน, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร วิหารพระพุทธไสยาสน์, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, สุมิตรรราช, พระเจ้าปัณฏุวาสุเทพ, พระเจ้าบัณฑวาสุเทพ, นางกระษัตร, นางกษัตริย์, ภัทธกัจจาย, อำมาตย์, เจ้าปัณฎุสากยราช, อรรคมเหษี, พระราชบุตร, พระราชบุตรี, พัทกะจาย, พระราชบิดา, มเหษี, มเหสี, กัลยาณี, ปริภาชี, นางพัทกะจาย, นางจิตรกุมารี, สมบัติ, สำเภา, ลังกา, ศรีลังกา, สีหบุรนคร, อุปดิสคาม, สีหปุระ, สมุทร์, ท่าโหนัคคา, อุปะดิษคาม, มหาวงษ์, สิงหล, พงศาวดารลังกา, ตำนานพุทธศาสนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-รัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-พงศาวดาร, เรื่อง-พงศาวดารลังกา, เรื่อง-ตำนานพระพุทธศาสนา, บุคคล-พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว |
ผนังด้านบนหน้าต่างทางทิศตะวันออกของวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
ไม่ปรากฏศักราช |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/3111?lang=th |
26 |
จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 7 (พระปัณฎุวาสุเทพเดินทางมาถึงลังกาทวีป) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
เล่าเรื่องมหาวงษ์ซึ่งเป็นพงศาวดารลังกา ตอนพระปัณฎุวาสุเทพ ราชบุตรของพระเจ้าสุมิตรเดินทางมาถึงลังกาทวีปหลังจากว่างกษัตริย์อยู่ 1 ปี |
จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 7 (พระปัณฎุวาสุเทพเดินทางมาถึงลังกาทวีป), จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 7 (พระปัณฎุวาสุเทพเดินทางมาถึงลังกาทวีป), หิน, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร วิหารพระพุทธไสยาสน์, สยาม, ไทยจักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, กระษัตร, รัตนโกสินทร์, สุมิตรรราช, ปัณฎุวาสุเทพ, บัณฑวาสุเทพ, อำมาตย์, ทูต, บรมกระษัตร, บรมกษัตริย์, พระเจ้าสุมิตร์, พระปัณฎุวาสุเทพราชบุตร, ปะริภาชก, ปริพาชก, โหราจารย์, พราหมณาจารย์, สำเภา, ลังกา, ศรีลังกา, สีหบุรนคร, ชมพูทวีป, อินเดีย, บ้านอุปดิษคาม, มหากัณฑรนที, อุปะดิษคาม, กรุงสีหะบุระนคร, ปากน้ำมหากัณ, ฑระนที, อุปะดิษคาม, ชนบท, พุทธศาสนา, ถวายพระเพลิง, มหาวงษ์, สิงหล, ตำนานพุทธศาสนา, พงศาวดารลังกา, พระบรมศภ, พระบรมศพ, ราชสมบัติ, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-รัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-พงศาวดาร, เรื่อง-พงศาวดารลังกา, เรื่อง-ตำนานพระพุทธศาสนา, บุคคล-พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว |
ผนังด้านบนหน้าต่างทางทิศตะวันออกของวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
ไม่ปรากฏศักราช |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/3109?lang=th |
27 |
จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 6 (พระเจ้าวิชัยอภิเษกกับธิดาพระเจ้าบัณฎกราช) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
เล่าเรื่องมหาวงษ์ซึ่งเป็นพงศาวดารลังกา ตั้งแต่ตอนพระเจ้าวิชัยอภิเษกกับธิดาพระเจ้าบัณฎกราช ธิดาอำมาตย์ 700 นางได้เป็นภรรยาอำมาตย์ ให้กำเนิดบุตรธิดาสืบต่อมา เรียกว่า ชาวสิงหล ต่อมาทรงประชวรหนักจึงส่งพระราชสารไปเชิญพระเจ้าสุมิตรราชอนุชาจากเมืองสีหปุระมาครองเมือง พระเจ้าวิชัยสวรรคตหลังจากครองราชย์ในลังกาทวีปได้ 38 ปี |
จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 6 (พระเจ้าวิชัยอภิเษกกับธิดาพระเจ้าบัณฎกราช), จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 6 (พระเจ้าวิชัยอภิเษกกับธิดาพระเจ้าบัณฎกราช), หิน, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร วิหารพระพุทธไสยาสน์, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, บันฎกราช, บัณฑกราช, พระเจ้าวิไชยราช, สุมิตรรราช, พระเจ้าวิชัยราช, พระราชธิดา, พระเจ้าปัณฎกราช, สัตรีบริวาร, อำมาตย์, พระนาง, นางธิดาอำมาตย์, ภรรยาอำมาตย์, บุตรธิดา, ชาวสิงหน, ชาวสิงหล, พระเจ้าสีหละภาหุ, ราชโอรส, พระเจ้าสุมิตรราชอะนุชาที่ 2, พระเจ้าสุมิตรราชอะนุชาที่ 2, ทูต, พระราชสาร, สำเภา, ลังกาทวีป, ศรีลังกา, สีหปุรนคร, ชมพูทวีป, อินเดีย, กรุงสีหะบุระนคร, ชมภูทวีป, พุทธศาสนา, ราชาภิเศก, เสวยราชสมบัติ, มหาวงษ์, สิงหล, พงศาวดารลังกา, ตำนานพุทธศาสนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-รัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-พงศาวดาร, เรื่อง-พงศาวดารลังกา, เรื่อง-ตำนานพระพุทธศาสนา, บุคคล-พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว |
ผนังด้านบนหน้าต่างทางทิศตะวันออกของวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
ไม่ปรากฏศักราช |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/3107?lang=th |
28 |
จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 5 (พระเจ้าวิชัยสร้างเมืองตามพบรรพตนครอยู่ร่วมกับนางกุเวณายักษิณี) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
เล่าเรื่องมหาวงศ์ซึ่งเป็นพงศาวดารลังกา ตั้งแต่ตอนพระเจ้าวิชัยสร้างเมืองตามพบรรพตนครอยู่ร่วมกับนางกุเวณายักษิณี ต่อมาได้ส่งราชสารไปสู่ขอพระราชธิดาของพระเจ้าปัณฏกราชแห่งเมืองมธุรนครพร้อมทั้งธิดาอำมาตย์ 700 นาง พระเจ้าวิชัยจึงขับไล่นางกุเวณาซึ่งต่อมาถูกยักษ์ฆ่าตายส่วนราชโอรส-ธิดาเสด็จหนีไปได้ |
จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 5 (พระเจ้าวิชัยสร้างเมืองตามพบรรพตนครอยู่ร่วมกับนางกุเวณายักษิณี), จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 5 (พระเจ้าวิชัยสร้างเมืองตามพบรรพตนครอยู่ร่วมกับนางกุเวณายักษิณี), หิน, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร, วิหารพระพุทธไสยาสน์, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, นางเวกุณายักษ์, พระวิไชย, พระวิชัย, ทิศลราชธิดา, เวกุณายักขิณี, ชีวหัตถกุมาร, ธิสัลลราชธิดา, อำมาตย์, บุตร, เจ้าชิวะหัดถะกุมาร, ทิศละราชธิดา, พระราชธิดา, พระเจ้าบัณฎกราช, บุตรี, มะหามะหะพลยักษ์, เครื่องประดับกาย, ราชสาร, เครื่องบรรณาการ, เครื่องราชาบริโภค, สำเภา, เมืองลังกา, ตามพบรรพตนคร, มธุรนคร, มะไลยประเทศ, ตามพปัณณิ, เมืองศิริวัตถุ, ตามภะประเทษ, ตามพประเทศ, ตามพะประเทศ, ตามภะบัณพตนคร, ตามพะบรรพตนคร, ตามพบรรพตนคร, ลังกาทวีป, มธุระนคร, มะไลยประเทษ, มะไลยประเทศ, พุทธศาสนา, มหาวงศ์, พงศาวดารลังกา, ตำนานพุทธศาสนา, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-รัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-พงศาวดาร, เรื่อง-พงศาวดารลังกา, เรื่อง-ตำนานพระพุทธศาสนา, บุคคล-พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว |
ผนังด้านบนหน้าต่างทางทิศตะวันออกของวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
ไม่ปรากฏศักราช |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/3105?lang=th |
29 |
จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 4 (พระวิชัยรบชนะนางกุเวณายักษิณีจึงได้นางเป็นชายา) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
เล่าเรื่องมหาวงษ์ซึ่งเป็นพงศาวดารลังกา ตั้งแต่ตอนพระเจ้าวิชัยซี่งเป็นบุตรนางสีหสิมพลีกับพระเจ้าสีหพาหุถูกนำใส่สำเภาลอยไปถึงลังกาทวีปพร้อมด้วยบริวารชายหญิงในวันที่พระพุทธเจ้าเข้าสู่นิพพานซึ่งอุบลเทวบุตรมาถึงเกาะดังกล่าวเพื่อตั้งพระศาสนา พระวิชัยรบชนะนางกุเวณายักษิณีจึงได้นางเป็นชายา ต่อมานางออกอุบายให้พระวิชัยฆ่ามหากาลเสนยักษ์แห่งเมืองศิริวัตถุ |
จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 4 (พระวิชัยรบชนะนางกุเวณายักษิณีจึงได้นางเป็นชายา), จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 4 (พระวิชัยรบชนะนางกุเวณายักษิณีจึงได้นางเป็นชายา), หิน, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร วิหารพระพุทธไสยาสน์,สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, นางสีหะสิมพลี, พระวิไชย, เจ้าวิชัย, กุเวณา, นางสีหจารียักษิณี, บุตร, กุมารกุมารี, เจ้าวิไชย, อุปราช, พระราชบิดา, บริวารชายหญิง, พระสัพัญู, พระสัพพัญญู, อุบลเทวบุต, เทวราช, ปริภาชก, นางกุเวณายักขิณี, ดาบศนี, อำมาตย์, แม่ฟ้า, แม่สุนักข์ดำ, แม่สุนัขดำ, สำเภา, ด้ายมงคลสูตร, มหาสมุทร, ลังกาทวีป, เกาะลังกา, สระโบกขรณี, เมืองศิริวัตถุ, พุทธศาสนา, มหาวงษ์, ลังกา, โบกขรณี, โจรกรรม, พระนิพพาน, พระศาสนา, นางยักษ์, มหากาลเสนยักษ์, ยักขสมาคม, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์, ยุคสมัย-รัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร, เรื่อง-พงศาวดาร, เรื่อง-พงศาวดารลังกา, เรื่อง-ตำนานพระพุทธศาสนา, บุคคล-พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, ไม่มีรูป |
ผนังด้านบนหน้าต่างทางทิศตะวันออกของวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
ไม่ปรากฏศักราช |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/3103?lang=th |
30 |
จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 3 (สีหพาหุฆ่าราชสีห์ตายแล้วสร้างเมืองสีหปุระ) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
เล่าเรื่องมหาวงษ์ซึ่งเป็นพงศาวดารลังกา ตอนสร้างเมืองสีหปุระ ตั้งแต่สีหพาหุพร้อมทั้งพระมารดาและขนิษฐาเดินทางมาถึงหมู่บ้านแห่งหนึ่ง ราชสีห์ได้ออกตามหาจนเข้าเขตเมือง สีหพาหุอาสาออกมาฆ่าราชสีห์ตายด้วยธนู ต่อมาไปสร้างเมืองสีหปุระใกล้ถ้ำราชสีห์ผู้เป็นบิดาโดยมีนางสีหสิมพลีเป็นมเหษี |
จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 3 (สีหพาหุฆ่าราชสีห์ตายแล้วสร้างเมืองสีหปุระ), จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 3 (สีหพาหุฆ่าราชสีห์ตายแล้วสร้างเมืองสีหปุระ), มหาวงษ์ วิหารพระไสยาสน์ (จารึกติดตามผนังบนหน้าต่างจารึกยังอยู่ครบ), จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 3, จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 3, หิน, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร วิหารพระพุทธไสยาสน์, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, สีหภพหุ, สีหสิมพลี, สุปราชบุตรี, อนุระเสนา, เจ้าสีหะภาหุ, มาดา, น้องหญิง, อนุระเสนา, อำมาตย์, บุตรภรรยา, มนุษย์, บรมกระษัตร, บิดา, สุปราชมาดา, สีหะสิมพลี, มเหษี, มเหสี, ราชสีห์, ช้าง, ผ้านุ่งห่ม, อาหาร, ภาชน, ทองคำ, ธนู, สมบัติ, สิงหะปุระ, สีหะปุระ, คามนิคม, ร่มไทร, บ้าน, ถ้ำ, สีหบุระ, พุทธ, มหาวงษ์, ลังกา, ตำนานพุทธศาสนา, พงศาวดารลังกา, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ประชุมจารึกวัดพระเชตุพน, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พงศาวดารลังกา, เรื่อง-ตำนานพุทธศาสนา |
ผนังด้านบนหน้าต่างทางทิศตะวันออกของวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
ไม่ปรากฏศักราช |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/3101?lang=th |
31 |
จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 2 (นางสุปราชบุตรีพากุมารและกุมารีหนีออกจากถ้ำ) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
เล่าเรื่องมหาวงษ์ซึ่งเป็นพงศาวดารลังกา ตั้งแต่ตอนนางสุปราชบุตรีคลอดราชกุมารให้นามว่า สีหพาหุ และ กุมารี นามว่า สีหสิมพลี เมื่อทั้ง 2 มีพระชนมายุได้ 16 พรรษาก็พากันหนีออกจากถ้ำราชสีห์กันทั้ง 3 พระองค์เดินทางจากป่าเข้าสู่เมือง |
จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 2 (นางสุปราชบุตรีพากุมารและกุมารีหนีออกจากถ้ำ), จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 2 (นางสุปราชบุตรีพากุมารและกุมารีหนีออกจากถ้ำ), มหาวงษ์ วิหารพระไสยาสน์ (จารึกติดตามผนังบนหน้าต่างจารึกยังอยู่ครบ), จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 2, จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 2, หิน, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร วิหารพระพุทธไสยาสน์, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, สีหพาหุ, สีหสิมพลี, สุปราชบุตรี, กุมาร, กุมารี, สีหะภาหุ, สีหะสิมพลี, บิดา, มาดา, น้องหญิง, พญาราชสีห์, ก้อนศีลา, ก้อนศิลา, ก้อนหิน, มางษสัตว์, เนื้อสัตว์, ใบไม้, ถ้ำ, ป่า, แดนมนุษย์, พุทธศาสนา, มหาวงษ์, ลังกา, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ประชุมจารึกวัดพระเชตุพน, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พงศาวดารลังกา, เรื่อง-ตำนานพุทธศาสนา |
ผนังด้านบนหน้าต่างทางทิศตะวันออกของวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
ไม่ปรากฏศักราช |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/3099?lang=th |
32 |
จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 1 (กำเนิดพระเจ้าสีหะพาหุ) |
ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ |
เล่าเรื่องมหาวงษ์ ซึ่งเป็นพงศาวดารลังกา ตั้งแต่ตอนกำเนิดพระเจ้าสีหะพาหุซึ่งเป็นบุตรนางสุปราชบุตรีกับราชสีห์ โดยเริ่มจากพระเจ้าวังคราชมีพระธิดานามว่าสุปราชบุตรี ซี่งมีสิริโฉมงดงามแต่นิสัยลามกจึงถูกขับออกจากเมืองจนพบราชสีห์และร่วมสังวาสกัน |
จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 1 (กำเนิดพระเจ้าสีหะพาหุ), จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 1 (กำเนิดพระเจ้าสีหะพาหุ), มหาวงษ์ วิหารพระไสยาสน์ (จารึกติดตามผนังบนหน้าต่างจารึกยังอยู่ครบ), จารึกเรื่องมหาวงษ์ แผ่นที่ 1, หิน, แผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร., วิหารพระพุทธไสยาสน์, สยาม, ไทย, จักรี, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัชกาลที่ 3, ร. 3, รัตนโกสินทร์, พระเจ้าวังคราช, พระเจ้าวังคะราช, สุปราชบุตรี, ราชธิดา, พระเจ้ากะลึงคราช, มเหษี, กลิงคราช, มเหสี, พระราชบุตรี, สุปะราชบุตรี, พระราชบิดา, เนมิตักกาจารย์, ราชปโรหิต, ราชปุโรหิต, ภรรยาพญาราชสีห์, บุรุษชาวชนบท, พวกพ่อค้าหาบ, พานิช, พุทธศาสนา, มหาวงศ์, มหาวงษ์, ลังกา, ตำนานพุทธศาสนา, พงศาวดารลังกา, ถ้ำ, พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, ประชุมจารึกวัดพระเชตุพน, ยุคสมัย-จารึกสมัยรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่ 3, วัตถุ-จารึกบนหิน, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยม, ลักษณะ-จารึกบนแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พงศาวดารลังกา, เรื่อง-ตำนานพุทธศาสนา |
ผนังด้านบนหน้าต่างทางทิศตะวันออกของวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
ไม่ปรากฏศักราช |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/3097?lang=th |