จารึก

The Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre

จารึกวัดเวฬุวันอาราม

จารึก

จารึกวัดเวฬุวันอาราม ด้านที่ 1

QR-code edit Share on Facebook

เวลาที่โพส โพสต์เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2555 เวลา 17:18:16

ชื่อจารึก

จารึกวัดเวฬุวันอาราม

ชื่อจารึกแบบอื่นๆ

ลพ. 18, ลพ./18, พช. 30, 352, หลักที่ 67 ศิลาจารึกวัดสันมะค่า จังหวัดลำพูน

อักษรที่มีในจารึก

ฝักขาม

ศักราช

พุทธศักราช 2050

ภาษา

ไทย

ด้าน/บรรทัด

จำนวนด้าน 2 ด้าน มี 33 บรรทัด ด้านที่ 1 มี 18 บรรทัด ด้านที่ 2 มี 15 บรรทัด

ผู้อ่าน

ฉ่ำ ทองคำวรรณ (พ.ศ. 2508)

ผู้ปริวรรต

ฉ่ำ ทองคำวรรณ (พ.ศ. 2508)

ผู้ตรวจ

คณะกรรมการจัดพิมพ์เอกสารทางประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และโบราณคดี สำนักนายกรัฐมนตรี (พ.ศ. 2508)

เชิงอรรถอธิบาย

1. ฉ่ำ ทองคำวรรณ : จ.ศ. 850 = พ.ศ. 2031
2. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ปีเปลิกสัน, เปิกสัน = ชื่อปีไทยแบบโบราณ ตรงกับปีวอก สัมฤทธิศก ตามจุลศักราช
3. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : เดือนเจียง = เดือนอ้ายภาคเหนือตรงกับเดือน 11 ภาคกลาง
4. ฉ่ำ ทองคำวรรณ : ออก = ปักษ์ข้างขึ้น หรือ ขึ้น
5. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : รวงเม็ด = ชื่อวันไทยแบบโบราณ รอบหนึ่งมี 60 วัน
6. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : เม็ง = มอญ
7. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ชาวเจ้า = พระภิกษุ
8. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ตน = รูป (ลักษณนามของพระสงฆ์), องค์, พระองค์
9. ฉ่ำ ทองคำวรรณ : หื้อ = ให้
10. ฉ่ำ ทองคำวรรณ : ไพ = ไป
11. ฉ่ำ ทองคำวรรณ : ข่วง = บริเวณ หรือ ลาน
12. ฉ่ำ ทองคำวรรณ : ลวง = ด้าน หรือ ส่วน
13. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : เจ้าหมื่น = ชื่อตำแหน่งข้าราชการ เหนือกว่าตำแหน่งพันขึ้นไป
14. ฉ่ำ ทองคำวรรณ : จาริด = จารีต แต่ในที่นี้น่าจะเป็น จารึก
15. ฉ่ำ ทองคำวรรณ : ต่อเท่า = ตราบเท่า
16. ฉ่ำ ทองคำวรรณ : ดังอั้น = ดังนั้น