ตัวอย่าง | ปรากฏใน | ด/บ | จังหวัด | ผู้ให้ความหมาย |
---|---|---|---|---|
- - นุ ต วิษย วฺรีห ปรฺยฺยงฺ - - - (- - -และแก่วิษัย วรีหะ เปรียง - - -) |
จารึกพระเจ้าสุริยวรมันที่ 1 | 1/28 | สระแก้ว | อุไรศรี วรศะริน |
วฺระ ขญุํ วฺระ ใตสุภากูตฺ นุ กฺวนฺ เจาวฺ ใตกนฺลางฺ นุ กฺวนฺ เจาวฺ ใตธรฺมฺม นุ กฺวนฺน ถมุรฺ กฺรปิ วฺวํ ชา ปิ สุตนฺตร ต โขฺลญฺ วิษย (พระ ข้า (ทาส) พระ คือ ไตศุภากูต และลูกหลาน ไตกันลาง และลูกหลาน ไตธรรมะ และลูก โค กระบือ ไม่ควรขึ้นแก่โขลญวิษัย (โขลญจังหวัด)) |
จารึกบ้านพังพวย | 1/17 | สระแก้ว | พจนานุกรมไทย ฉบับเปลื้อง ณ นคร |
เนะ คิ โระหฺ ศาข สนฺตาน โนะ . สนฺตาน อนินฺทิตปุร เตมฺ สฺรุกฺ ศตคฺราม . กุรุงฺ ภวปุระ โอยฺ ปฺรสาท ภูมิ อายฺ วิษย อินฺทฺรปุระ . สนฺตาน จตฺ สฺรุกฺ ชฺมะ ภทฺรโยคิ . องฺคฺวยฺ ต คิ สฺถาปนา วฺระศิวลิงฺค ต คิ. (ต่อไปนี้ คือประวัติของสายสกุลดังกล่าว ครั้งแรกสกุลนี้ได้อาศัยอยู่ในเมืองศตคราม นครอนินทิตปุระ พระราชาแห่งกรุงภวปุระได้พระราชทานที่ดินในตำบลหนึ่งของอินทรปุระให้แก่เขา ดังนั้น สกุลนี้จึงได้ตั้งถิ่นฐานอยู่อาศัยในหมู่บ้านภัทรโยคี แล้วสร้างพระศิวลึงค์ไว้ประจำหมู่บ้านนั้น) |
จารึกสด๊กก๊อกธม 2 | 3/60 | สระแก้ว | ชะเอม คล้ายแก้ว |
วฺระ กมฺรเตงฺ อญฺ ต สิงฺ ปฺรติปกฺษ วฺระ สภา โขฺลญฺ วิษย (ปุรุษาธิการ ปุรุษปํเร) สฺตฺรี ปํเร โผงฺ สปฺ วรฺณ สปฺ สํวตฺสร (พระกัมรเตงอัญผู้ทำหน้าที่แต่ละปักษ์แห่งพระสภา โขลญวิสัย หัวหน้า คนงาน บุรุษบำเรอ สตรีบำเรอ ทั้งปวง และแก่คนทุกๆ เหล่า เป็นประจำทุกปี) |
จารึกปราสาทหินพระวิหาร 2 | 2/6 | ศรีสะเกษ | อำไพ คำโท |
...ศาสน โอยฺ... วฺระ กมฺรเตงฺ อญฺ ต คุรุ มานฺ วฺระ ศาสน ปนฺทฺวลฺ เปฺร สฺถาปนา ปฺรศสฺต เนะ ภควตฺ ปาท กมฺรเตงฺ อญฺ ต คุรุ ศฺรีทิวากรปณฺฑิต สฺรุกฺ วฺนุรฺ ทฺนงฺ วิษย สทฺยา ต (กรฺมฺมา) นฺตรตฺรีณิ อุทิ โตทิตว (มีพระบรมราชโองการรับสั่งให้จัดทำคำประกาศทางราชการบนศิลาจารึกนี้ ภควัตบาทกัมรเตงอัญดคุรุศรีทิวากรบัณฑิตแห่งเมืองพะนุรทะนง (เนินประดู่) วิษัยสัทยา ผู้มีตำแหน่งชั้นตรี และเป็นผู้เชี่ยวชาญทางระเบียบประเพณี) |
จารึกปราสาทหินพระวิหาร 2 | 1/8 | ศรีสะเกษ | พจนานุกรม เขมร - ไทย ฉบับทุนพระยาอนุมานราชธน |
คิ กํมฺรเตงฺ อญฺ วฺระ คุรุ ปนฺทฺวลฺ ต เสฺตงฺ อญฺ ต ปฺรตฺยฺย เสฺตงฺ อญฺ อายฺ สมฺฤทฺธิปุร คิ เปฺร โมกฺ ทุกฺ ปฺรสตฺต อายฺ กจฺ โตงฺ ต ปฺรสํคณ นุ วฺระ กํมฺรเตงฺ อญฺ ชคตฺ ลิงฺคปุร วฺวํ สุต นฺตฺร ต กวิษย วฺวํ อาจฺ ติ อายตฺว ต โขฺลญฺ ชา วิษย นุ ตฺรลาว นุ ปฺรภู โผงฺ (ตามที่ กัมรเตงอัญ คุรุ กราบทูลต่อเสตงอัญผู้เป็นใหญ่ที่สัมฤทธิปุระ เพื่อให้มาทำจารึกไว้ที่กัจโตงให้รวมพระกัมรเตงอัญชคัตลิงคปุระไว้ด้วย ไม่ต้องขึ้นต่อ กวิษยะ ไม่ต้องขึ้นต่อโขลญชาววิษยะ, ตระลาว และเจ้านายทั้งปวง) |
จารึกปราสาทเมืองแขก 1 | 1/20 | นครราชสีมา | พจนานุกรมไทย ฉบับ อ. เปลื้อง ณ นคร |
สํวะ โขฺลญฺ วล กมฺร(เตงฺ) - - - นุ โขฺลญฺ นิ ต คิ เนะ วิษย - - - ปฺรทฺวนฺ เทา นุ โฉฺลญฺ ตมฺรฺวจฺ วิษ(ย) (คำนับ โขฺลญพล กัมฺรเตงฺ - - - แล โขฺลญ (ที่จะประจำ) วิษัย (คือจังหวัด) นี้ต่อไป แล โฉฺลญตำรวจวิษัย) |
จารึกศาลเจ้าเมืองลพบุรี | 1/3 | ลพบุรี | ชะเอม คล้ายแก้ว |
... ลิกฺ ต ตมฺรฺวจฺ วิษย เทปฺ ...ลิกฺ ต (ตมฺรฺวจฺ) วิษย มนฺ มานฺ ...จฺวลฺ ... ตฺ ฉฺลงฺ โขฺลญฺ ...ยฺ . ต ... รฺ ถ วาปฺ ...ญ ...ย เปฺร (.... แด่ตำรวจวิษัย แล้วจึง ...แด่ตำรวจวิษัยผู้มี ... ส่งให้.... แด่ฉลังโขลญ ...วาบ ...) |
จารึกศาลสูงภาษาเขมร (หลักที่ 2) | (ชิ้นที่ 1) 2/1 | ลพบุรี | อำไพ คำโท |
ปวตฺร โวํ ตาศฺ วิไศ ปนฺทฺวลฺ . . .จฺทฺวลฺ ต นุตาศฺ วฺวํ อาจฺ ติ มา . . . ((บรม)บพิตร ให้เผยแพร่คำสั่งไปทั่วทั้งจังหวัดย้ำถึงการเผยแพร่อย่าให้ผิดพลาด) |
จารึกปราสาทโตนตวล 1 | 1/3 | ศรีสะเกษ | ชะเอม คล้ายแก้ว |
ใต ปฺรยงฺค ใต กนฺลางฺ ผฺสมฺ ...ปฺรภูวิษย นุ ติ โขฺลญฺ วล เชา ขาลฺ ปฺรกฺ 1 ลิงฺ นุ โทปฺ (ไตประยงค์ ไตกันลาง รวม ... ประภูวิษัย พร้อมทั้งโขลญพล ได้ซื้อขันเงินราคา 1 ลิง พร้อมทั้งโทบ) |
จารึกปราสาทหินพนมรุ้ง 3 | 3/6 | บุรีรัมย์ | พจนานุกรม เขมร - ไทย ฉบับทุนพระยาอนุมานราชธน |
กํเสฺตงฺมอางฺ ปาณฺฑิห . . . . .โฉฺลงฺ ศาล กุรุงฺ วิษย นุ คิ เตงฺ ตฺวนฺ วฺระ เสฺตงฺ อญฺ ชฺวนฺ ต กํเสฺตงฺ ชคตฺ วฺระ โผงฺ ติ เปฺร เถฺว จํนำ เล สิงฺ นุ คิ เค สฺวํ วิงฺ วฺระ สมย ต. . . . . อฺนกฺ โผงฺ ปายิทฺร (มะอางผู้เป็นบัณฑิต จัดฉลองศาลาประจำเมืองที่เตงตวน พระเสตงอัญ ถวายแก่พระกัมรเตงชคัต พระทั้งปวงให้ประกอบพิธีกรรมตามหลักของศาสนาพวกเขาที่ได้รับอนุญาต . . . และประชาชนทั้งปวง ต่างมีความยินดี) |
จารึกปราสาทเขาดุม | 1/4 | บุรีรัมย์ | ชะเอม คล้ายแก้ว |