พิพิธภัณฑ์เมืองแพร่ "คุ้มเจ้าหลวง"


ที่อยู่:
จวนผู้ว่าฯหลังเก่า ถ.คุ้มเดิม (หน้า ร.ร.นารีรัตน์) ต.ในเวียง อ.เมือง จ.แพร่ 54000
โทรศัพท์:
054-524158, 054-511411
วันและเวลาทำการ:
เปิดทุกวัน 08.30-16.30 น.
ค่าเข้าชม:
ไม่เก็บค่าเข้าชม
อีเมล:
khumchaomuseum@gmail.com
ปีที่ก่อตั้ง:
2548
ของเด่น:
สถาปัตยกรรม, นิทรรศการเกี่ยวกับเจ้าผู้ครองนครแพร่

โดย:

วันที่: 10 กุมภาพันธ์ 2555

โดย:

วันที่: 10 กุมภาพันธ์ 2555

โดย:

วันที่: 10 กุมภาพันธ์ 2555

โดย:

วันที่: 10 กุมภาพันธ์ 2555

โดย:

วันที่: 10 กุมภาพันธ์ 2555

โดย:

วันที่: 10 กุมภาพันธ์ 2555

โดย:

วันที่: 10 กุมภาพันธ์ 2555

โดย:

วันที่: 10 กุมภาพันธ์ 2555

ไม่มีข้อมูล
ไม่มีข้อมูล

ขายทอดตลาด "บ้านปราบเงี้ยว"รอยต่อทางประวัติศาสตร์ สมัยรัชกาลที่ 5

ชื่อผู้แต่ง: พนิดา สงวนเสรีวานิช | ปีที่พิมพ์: 8/13/2545

ที่มา: มติชนรายวัน

แหล่งค้นคว้า: ศมส.

โดย: ศมส.

วันที่: 13 มีนาคม 2555

สาวความเรื่องเมืองแพร่

ชื่อผู้แต่ง: กลุ่มลูกหลานเมืองแพร่ | ปีที่พิมพ์: 2548

ที่มา: แพร่: ไทยอุตสาหการพิมพ์

แหล่งค้นคว้า: ศมส.

โดย: ศมส.

วันที่: 13 มีนาคม 2555


ไม่มีข้อมูล

รีวิวของพิพิธภัณฑ์เมืองแพร่ "คุ้มเจ้าหลวง"

จวนผู้ว่าราชการจังหวัดแพร่เป็นอาคาร 2 ชั้น ก่ออิฐฉาบปูน หลังคาปั้นหยาเดิมมุงด้วยแป้นเกล็ด ปัจจุบันเปลี่ยนเป็นกระเบื้องลอนคู่ มีมุขและบันไดทางขึ้นด้านหน้า ปั้นลมและเชิงชายประดับไม้แกะสลักอย่างสวยงาม อาคารนี้มีประตูหน้าต่างรวมกัน 72 บาน โครงสร้างมีลักษณะพิเศษคือไม่มีเสาเข็ม แต่ใช้ท่อนซุงเช่นแก่นไม้แดงและไม้เนื้อแข็งรองรับฐานเสาทั้งหลัง พื้นภายในอาคารเป็นไม้ ใต้ถุนอาคารยกสูงถึง 2 เมตร ซึ่งเล่าขานกันมาว่าเคยใช้เป็นที่คุมขังนักโทษ อาคารนี้เดิมเป็นคุ้มเจ้าหลวง หลังจากเจ้าหลวงเมืองแพร่องค์สุดท้ายคือเจ้าพิริยะเทพวงศ์ได้หนีไปอยู่ที่เมืองหลวงพระบางภายหลังเหตุการณ์กบฏเงี้ยวเมืองแพร่ในปี พ.ศ. 2445 คุ้มก็ถูกทิ้งร้าง และต่อมาได้ใช้เป็นที่ตั้งกองทหารของเจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี ในสมัยรัชกาลที่ 6 ได้จัดตั้งโรงเรียนขึ้นบริเวณคอกม้าเก่า เรียกว่า โรงเรียนคอกม้า ปัจจุบันบริเวณนั้นคือโรงเรียนพิริยาลัย อาคารนี้ได้รับการประกาศขึ้นทะเบียนโบราณสถานเมื่อวันที่ 20 มกราคม 2541 ปัจจุบันได้รับการบูรณะแล้วโดยกรมศิลปากร

ข้อมูลจาก : สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์, 174 มรดกสถาปัตยกรรมในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พลับบลิชชิ่งจำกัด (มหาชน), 2547. อ่านข้อมูลเพิ่มเติมที่เว็บไซต์องค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่
ชื่อผู้แต่ง:
-

แอ่วเมืองแพร่ แลเรือนเก่า

จังหวัด"แพร่"ได้ชื่อว่าเป็นเมืองแห่งป่าไม้ โดยเฉพาะป่า"ไม้สัก"นั้นแพร่ขึ้นชื่อลือชามาก เมื่อป่าไม้มีเยอะ ในยุคหนึ่งชาวแพร่จึงนิยมสร้างบ้านแบบโชว์ไม้ เน้นเสาต้นใหญ่ๆ โดยเฉพาะเสาซุ้มประตูหน้าบ้านนี่คัดกันมาต้นเบ้อเริ่มเทิ่มดูอลังการงานสร้างไม่น้อย อย่างไรก็ตามนั่นเป็นค่านิยมในการสร้างบ้านของคนเมืองแพร่ในยุคสมัยหนึ่ง ส่วนถ้าย้อนหลังจากบ้านยุคโชว์เสาโชว์ไม้ถอยกลับไปไกลกว่านั้นเมื่อประมาณ 100 กว่าปีที่แล้ว ยุคนั้นแพร่ถือเป็นยุคทองของการสร้างอาคารบ้านเรือนในทรงยุโรปประยุกต์โดยเฉพาะเรือนสไตล์"ขนมปังขิง"อันสุดแสนจะคลาสสิก
ชื่อผู้แต่ง:
-

ย้อนรอยประวัติศาสตร์เมืองแพร่

จังหวัดแพร่ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำยมลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบมีภูเขาล้อมรอบลักษณะคล้ายแอ่งกระทะเนื่องจากภูมิประเทศเป็นภูเขาสูงชันและมีพันธุ์ไม้นานาชนิดฤดูหนาวจึงค่อนข้างหนาวจัดอุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 8-12 0c ฤดูร้อนไม่ร้อนจัดอุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 30 0c ฤดูฝนมีฝนตกชุกซึ่งเริ่มตั้งแต่เดือนพฤษภาคมและสิ้นสุดเดือนตุลาคม (คุ้มเจ้าหลวงเมืองแพร่) พิพิธภัณฑ์เมืองแพร่ชมของเก่าแก่อายุหลายร้อยปีที่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์พร้อมชมห้องขังข้าทาสและนักโทษคดีเด็ดขาดฟังเรื่องเล่าขานในอดีตจนปัจจุบันว่ามีดวงวิญญาณสิงสถิตอยู่จวบจนปัจจุบัน
ชื่อผู้แต่ง:
-

แวะเยี่ยมชม : คุ้มเจ้าหลวงเมืองแพร่

ก่อนที่จะเดินทางออกจากตัวเมืองแพร่ ผมและคณะได้แวะเยี่ยมชม “คุ้มเจ้าหลวง” ซึ่งเป็นคำที่ชาวบ้านใช้เรียกบ้านของเจ้าผู้ครองเมืองแพร่องค์สุดท้าย สำหรับประวัติความเป็นมาของสถานที่แห่งนี้ ที่ได้รับจากเอกสารแผ่นพับกล่าวไว้ดังนี้ ครับ... คุ้มเจ้าหลวง สร้างขึ้นก่อนสมัยเงี้ยวปล้นเมืองแพร่ประมาณ 10 ปี คือประมาณ พ.ศ. 2435 หลังจากเจ้าหลวงเมืองแพร่ คือ เจ้าพิริยเทพวงศ์ ได้ลี้ภัยไปอยู่เมืองหลวงพระบางแล้ว คุ้มเจ้าหลวง ได้กลายเป็นที่ตั้งของกองทหารม้าที่ทางกรุงเทพฯ ได้ส่งมารักษาความสงบเรียบร้อยในเมืองแพร่อยู่ระยะหนึ่ง
ชื่อผู้แต่ง:
-