จารึก

The Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre

จารึกปราสาทหินพนมรุ้ง 5

จารึก

จารึกปราสาทหินพนมรุ้ง 5 ด้านที่ 1

QR-code edit Share on Facebook

เวลาที่โพส โพสต์เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน 2564 เวลา 23:15:22

ชื่อจารึก

จารึกปราสาทหินพนมรุ้ง 5

ชื่อจารึกแบบอื่นๆ

Stele de Phnom Rung (K. 1066), บร.12, K.1066, เลขทะเบียนโบราณวัตถุที่ 197/2532

อักษรที่มีในจารึก

ขอมโบราณ

ศักราช

พุทธศตวรรษ 16

ภาษา

เขมร

ด้าน/บรรทัด

จำนวนด้าน 1 ด้าน มี 21 บรรทัด

ผู้อ่าน

อำไพ คำโท (พ.ศ. 2529)

ผู้แปล

อำไพ คำโท (พ.ศ. 2529)

ผู้ตรวจ

กองหอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร (พ.ศ. 2529)

เชิงอรรถอธิบาย

1. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2547) : ในคำอ่านของจารึกหลักนี้ ที่เผยแพร่ใน จารึกในประเทศไทย เล่ม 3 ตัวพยัญชนะ “ต” บางตัว ถูกอ่าน เป็น “ด” ทั้งที่เมื่อพิจารณารูปอักษรแล้ว อักษรที่ถูกอ่านเป็น “ต” และ “ด” ไม่มีความแตกต่างแต่ประการใด ดังนั้นเพื่อไม่ให้สับสน คณะทำงานพัฒนาฐานข้อมูลฯ จึงแก้ไขคำอ่าน จากที่อ่านเป็น “ด” ให้อ่านเป็น “ต” ทั้งหมด
2. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2547) : ในคำอ่านของจารึกหลักนี้ ที่เผยแพร่ใน จารึกในประเทศไทย เล่ม 3 ตัวพยัญชนะ “ป” บางตัว ถูกอ่าน เป็น “บ” ทั้งที่เมื่อพิจารณารูปอักษรแล้ว อักษรที่ถูกอ่านเป็น “ป” และ “บ” ไม่มีความแตกต่างแต่ประการใด ดังนั้นเพื่อไม่ให้สับสน คณะทำงานพัฒนาฐานข้อมูลฯ จึงแก้ไขคำอ่าน จากที่อ่านเป็น “บ” ให้อ่านเป็น “ป” ทั้งหมด
3. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2547) : หรืออ่านเป็น “บพิตร” ก็ได้
4. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2547) : คำอ่านปัจจุบันเป็น “ถะเอียก”
5. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2547) : ใน จารึกในประเทศไทย เล่ม 3 อ่านเป็น “ภี” แต่เมื่อพิจารณาจากภาพสำเนาจารึกแล้วเห็นว่าน่าจะเป็น “ภิ” มากกว่า เพราะรูปสระเป็นวงกลม ไม่มีขีดด้านใน
6. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2547) : “โสด” หมายถึง อื่นๆ, อีก
7. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2547) : ดูเชิงอรรถข้อ 4