Logo
ปิดเมนู
รายชื่อพิพิธภัณฑ์
ย้อนกลับ
รายชื่อพิพิธภัณฑ์
List view
Map view
ปิดเมนู
Online Exhibits
ย้อนกลับ
Online Exhibits
มหกรรมพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นภาคใต้
มหกรรมพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นภาคกลาง
มหกรรมพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นภาคเหนือ
ปิดเมนู
Research & learning
ย้อนกลับ
Research & learning
พิพิธภัณฑ์วิทยา
Research & Report
บทความวิชาการ
บล็อก
อินโฟกราฟฟิก
ปิดเมนู
สื่อสิ่งพิมพ์
ย้อนกลับ
สื่อสิ่งพิมพ์
หนังสือ
จุลสาร
ปิดเมนู
เทศกาล และข่าวสาร
ย้อนกลับ
เทศกาล และข่าวสาร
เทศกาล
ข่าวสาร
ปิดเมนู
เกี่ยวกับโครงการ
ย้อนกลับ
เกี่ยวกับโครงการ
เกี่ยวกับโครงการ
ทีมงาน
ติดต่อเรา
สถิติพิพิธภัณฑ์
สถิติเว็บไซต์
ปิดเมนู
ไทย
เปลี่ยนภาษา
ไทย
English
จังหวัด
กระบี่
กรุงเทพมหานคร
กาญจนบุรี
กาฬสินธุ์
กำแพงเพชร
ขอนแก่น
จันทบุรี
ฉะเชิงเทรา
ชลบุรี
ชัยนาท
ชัยภูมิ
ชุมพร
ตรัง
ตราด
ตาก
นครนายก
นครปฐม
นครพนม
นครราชสีมา
นครศรีธรรมราช
นครสวรรค์
นนทบุรี
นราธิวาส
น่าน
บึงกาฬ
บุรีรัมย์
ปทุมธานี
ประจวบคีรีขันธ์
ปราจีนบุรี
ปัตตานี
พระนครศรีอยุธยา
พะเยา
พังงา
พัทลุง
พิจิตร
พิษณุโลก
ภูเก็ต
มหาสารคาม
มุกดาหาร
ยะลา
ยโสธร
ระนอง
ระยอง
ราชบุรี
ร้อยเอ็ด
ลพบุรี
ลำปาง
ลำพูน
ศรีสะเกษ
สกลนคร
สงขลา
สตูล
สมุทรปราการ
สมุทรสงคราม
สมุทรสาคร
สระบุรี
สระแก้ว
สิงห์บุรี
สุพรรณบุรี
สุราษฎร์ธานี
สุรินทร์
สุโขทัย
หนองคาย
หนองบัวลำภู
อำนาจเจริญ
อุดรธานี
อุตรดิตถ์
อุทัยธานี
อุบลราชธานี
อ่างทอง
เชียงราย
เชียงใหม่
เพชรบุรี
เพชรบูรณ์
เลย
แพร่
แม่ฮ่องสอน
ประเภทการจัดแสดง
กฎหมายและราชทัณฑ์
การทหาร / สงคราม
การสื่อสาร / ไปรษณีย์
การแพทย์และสาธารณสุข
งานอนุรักษ์สถาปัตยกรรม
ชาติพันธ์ุ
ธรรมชาติวิทยา
บุคคลสำคัญ
บ้านประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ผ้า / สิ่งทอ
พระป่า
วิถีชีวิตท้องถิ่นและภูมิปัญญา
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ศาสนา ความเชื่อ และพิธีกรรม
ศิลปะ / การแสดง
อื่น ๆ
เครื่องปั้นดินเผา
เงินตรา / การเงินธนาคาร
โบราณคดี
ค้นหาแบบละเอียด
ข่าวสาร
นิทรรศการ หลักธรรมยุคแรกของพระพุทธเจ้า
นิทรรศการ หลักธรรมยุคแรกของพระพุทธเจ้า
นิทรรศการ เรื่อง
หลักธรรมยุคแรกของพระพุทธเจ้าพบที่จังหวัดลพบุรี
นิทรรศการร่วมเฉลิมฉลองโอกาสพระพุทธเจ้าตรัสรู้ครบ ๒๖๐๐ ปี (สัมพุทธชยันตี) ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์ จังหวัดลพบุรี วันที่ ๒ มิถุนายน – ๓๑ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๕๕
จัดโดย ชมรมอนุรักษ์โบราณวัตถุสถานและสิ่งแวดล้อม จังหวัดลพบุรี และ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์ กรมศิลปากร (หมายเหตุ : พิพิธภัณฑ์เปิดวันพุธ-อาทิตย์ ๙.๐๐-๑๖.๐๐ น. ติดต่อเพิ่มเติมได้ที่ ๐๓๖ ๔๑๑๔๕๘)
เนื้อหาที่นำเสนอ
๑. ประวัติการสถาปนาพระพุทธศาสนาที่จังหวัดลพบุรี
จากหลักฐานโบราณวัตถุสถานที่พบ เช่น ซากสถูปโบราณที่วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ วัดนครโกษา(เมืองลพบุรี)ซากสถูปโบราณที่เมืองโบราณซับจำปา(อำเภอท่าหลวง) เมืองพรหมทิน(อำเภอโคกสำโรง) และการค้นพบพุทธศิลปกรรมต่าง ๆ เช่น พระพุทธรูป พระพิมพ์ พระธรรมจักร ฯลฯ ตามที่ต่าง ๆ ที่จังหวัดลพบุรี ทำให้ทราบว่าการสถาปนาพุทธศาสนาเกิดขึ้นครั้งแรกในพื้นที่นี้อย่างน้อยเมื่อ ๑๕๐๐ ปีก่อน
ชาวอินเดียและชาวมอญคงมีบทบาทสำคัญในการนำพระพุทธศาสนาเข้ามายังดินแดนแถบนี้
๒. ความแพร่หลายของการนับถือพุทธศาสนา
พบว่าชาวลพบุรีเมื่อประมาณ ๑๕๐๐ ปีก่อน ให้ความสำคัญกับเรื่องของแก่นแห่งพระพุทธศาสนาคือหลักธรรมสำคัญต่าง ๆ ของพระพุทธเจ้ารวมทั้งความสำคัญในฐานะพระศาสดาของพระพุทธเจ้า และมีการนับถือพุทธศาสนาทั้ง ๒ นิกายคือ เถรวาท(หินยาน) และอาจาริยวาท(มหายาน)
๓. หลักธรรมยุคแรกของพระพุทธเจ้าพบที่จังหวัดลพบุรี
หลักฐานของหลักธรรมยุคแรกของพระพุทธเจ้าพบที่จังหวัดลพบุรีคือข้อความหลักธรรมที่เป็นแก่นแห่งคำสอนและคำอุทานต่าง ๆ ของพระพุทธเจ้าซึ่งปรากฏอยู่ในพระไตรปิฎก ที่สำคัญคือ
หลักอริยสัจ
หลักปฏิจจสมุปบาท
การหมุนของพระธรรมจักร
ปฐมพุทธอุทาน
พุทธอุทาน
หลักธรรมและพุทธอุทานของพระพุทธเจ้าที่พบดังกล่าวปรากฏอยู่บนแผ่นหิน เสาหิน พระพุทธรูป พระธรรมจักร พระพิมพ์ มีอายุประมาณ ๑๕๐๐-๑๓๐๐ ปีก่อนที่พบที่จังหวัดลพบุรี เป็นหลักฐานประเภทหลักธรรมและพุทธอุทานชุดที่เก่าที่สุดที่พบในประเทศไทยแห่งหนึ่งนอกเหนือจากที่พบหลักฐานเนื้อหาคล้าย ๆ กันนี้ที่เมืองโบราณยุคสมัยเดียวกันเช่นที่เมืองนครปฐม เมืองอู่ทอง เป็นต้น แต่ที่จังหวัดลพบุรีพบเนื้อหาหลักธรรมและพุทธอุทานยุคแรกที่มีเนื้อหาหลากหลายกว่า
๔. เรื่องน่าสังเกต
ชาวพุทธที่จังหวัดลพบุรีเมื่อประมาณ ๑๕๐๐ ก่อนให้ความสำคัญกับแก่นแห่งคำสอนของพระพุทธเจ้าคือหลักอริยสัจและหลักปฏิจจสมุปบาท ซึ่งเป็นหลักธรรมที่ชวนให้สมาชิกของสังคมปฏิบัติดีปฏิบัติชอบเพื่อให้เป็นสังคมที่น่าอยู่ และไม่เบียดเบียนกัน รวมทั้งชวนให้สมาชิกของสังคมแสวงหาทางพ้นทุกข์และนิพพาน
นักบวชและชนชั้นปกครองคงเอาใจใส่ในการปลูกฝังอุดมการณ์ของชาวพุทธดังกล่าว จึงพบว่าจารึกความดังกล่าวจารึกด้วยตัวอักษรอินเดียที่งดงาม และจารึกบนวัตถุสำคัญ ๆ เช่น พระธรรมจักร พระพุทธรูป ซึ่งทำจากหินและทำขึ้นอย่างปราณีตที่ควรดำริให้สร้างขึ้นโดยชนชั้นปกครอง
(ที่มา นายภูธร ภูมะธน ชมรมอนุรักษ์โบราณวัตถุสถานและสิ่งแวดล้อม จังหวัดลพบุรี)
เผยแพร่เมื่อ:
01 มิถุนายน 2555
แชร์ข้อมูล