เอกสารโบราณในประเทศไทย

Manuscripts of Thailand

Total : 59 pages , Total amount : 1,870 Records , Total amount : 2 Resources.

พระยาชมพูบดี ผูก 2
หอวัฒนธรรมลาวเวียง วัดโบสถ์ พระยาชมพูบดี ผูก 2
RBR004-002พระยาชมพูบดี ผูก 2
ธรรมคดี

พระยาชมพูบดีเป็นกษัตริย์ที่มีบุญญาธิการ มีฤทธิ์เพราะมีศรวิเศษปราบได้ทั่วหล้า ด้วยพลังอำนาจนี้ทำให้พระยาชมพูบดีถือตนว่าเป็นกษัตริย์ที่ยิ่งใหญ่กว่ากษัตริย์ทุกพระองค์ในชมพูทวีป ครั้งหนึ่งพระยาชมพูเหาะผ่านปราสาทของพระเจ้าพิมพิสาร เห็นแสงของปราสาทส่องสว่างก็ไม่พอพระทัย ใช้พระบาทถีบยอดปราสาท แต่ก็ไม่อาจทำอันตรายยอดปราสาทได้เพราะอำนาจพระพุทธคุณที่คุ้มครองปราสาท แม้พระขรรค์ก็ไม่อาจทำลายยอดปราสาทได้ เมื่อพระยาชมพูกลับมาถึงเมืองจึงใช้ศรวิเศษไปเสียบพระกรรณของพระเจ้าพิมพิสาร ฝ่ายพระเจ้าพิมพิสารเห็นพระยาชมพูพยายามทำลายยอดปราสาทก็เกิดความกลัว หนีไปเฝ้าพระพุทธเจ้า ศรของพระยาชมพูตามพระเจ้าพิมพิสารมายังเชตวันวิหาร พระพุทธเจ้าทรงเนรมิตจักรขับไล่ศรของพระยาชมพู พระยาชมพูกริ้ว สั่งให้ฉลองพระบาทไปจับตัวพระเจ้าพิมพิสาร ฉลองพระบาทแปลงเป็นนาคราชไปยังเชตวันมหาวิหาร พระพุทธเจ้าบันดาลพญาครุฑไล่จับนาค นาคก็ชำแรกดินหนีกลับไปหาพระยาชมพู พระพุทธเจ้าให้พระอินทร์ไปเชิญพระยาชมพูมาเฝ้า พระยาชมพูดื้อดึง พระอินทร์ปราบพยศพระยาชมพูและบังคับให้พระยาชมพูมาเฝ้าพระพุทธเจ้า พระพุทธเจ้าให้สามเณรอรหันต์นำพระยาชมพูเข้ามาในเมือง พระยาชมพูและเหล่าอำมาตย์ไม่เคยเห็นเมืองที่มั่งคั่งและประชาชนที่งดงามดังเทวดา ก็ละอายยอมละทิฐิ ยอมออกบวชเป็นภิกษุ นางกาญจเทวีชายากับโอรสของพระยาชมพูได้ฟังเทศนาของพระพุทธเจ้าก็เกิดความเลื่อมใสออกผนวช สุดท้ายทุกคนก็สำเร็จอรหันตผล (ข้อมูลจาก https://www.sac.or.th/databases/thailitdir/detail.php?meta_id=332) พระยาชมพูบดี ฉบับใบลานนี้มี 4 ผูก

พระยาชมพูบดี ผูก 3
หอวัฒนธรรมลาวเวียง วัดโบสถ์ พระยาชมพูบดี ผูก 3
RBR004-003พระยาชมพูบดี ผูก 3
ธรรมคดี

พระยาชมพูบดีเป็นกษัตริย์ที่มีบุญญาธิการ มีฤทธิ์เพราะมีศรวิเศษปราบได้ทั่วหล้า ด้วยพลังอำนาจนี้ทำให้พระยาชมพูบดีถือตนว่าเป็นกษัตริย์ที่ยิ่งใหญ่กว่ากษัตริย์ทุกพระองค์ในชมพูทวีป ครั้งหนึ่งพระยาชมพูเหาะผ่านปราสาทของพระเจ้าพิมพิสาร เห็นแสงของปราสาทส่องสว่างก็ไม่พอพระทัย ใช้พระบาทถีบยอดปราสาท แต่ก็ไม่อาจทำอันตรายยอดปราสาทได้เพราะอำนาจพระพุทธคุณที่คุ้มครองปราสาท แม้พระขรรค์ก็ไม่อาจทำลายยอดปราสาทได้ เมื่อพระยาชมพูกลับมาถึงเมืองจึงใช้ศรวิเศษไปเสียบพระกรรณของพระเจ้าพิมพิสาร ฝ่ายพระเจ้าพิมพิสารเห็นพระยาชมพูพยายามทำลายยอดปราสาทก็เกิดความกลัว หนีไปเฝ้าพระพุทธเจ้า ศรของพระยาชมพูตามพระเจ้าพิมพิสารมายังเชตวันวิหาร พระพุทธเจ้าทรงเนรมิตจักรขับไล่ศรของพระยาชมพู พระยาชมพูกริ้ว สั่งให้ฉลองพระบาทไปจับตัวพระเจ้าพิมพิสาร ฉลองพระบาทแปลงเป็นนาคราชไปยังเชตวันมหาวิหาร พระพุทธเจ้าบันดาลพญาครุฑไล่จับนาค นาคก็ชำแรกดินหนีกลับไปหาพระยาชมพู พระพุทธเจ้าให้พระอินทร์ไปเชิญพระยาชมพูมาเฝ้า พระยาชมพูดื้อดึง พระอินทร์ปราบพยศพระยาชมพูและบังคับให้พระยาชมพูมาเฝ้าพระพุทธเจ้า พระพุทธเจ้าให้สามเณรอรหันต์นำพระยาชมพูเข้ามาในเมือง พระยาชมพูและเหล่าอำมาตย์ไม่เคยเห็นเมืองที่มั่งคั่งและประชาชนที่งดงามดังเทวดา ก็ละอายยอมละทิฐิ ยอมออกบวชเป็นภิกษุ นางกาญจเทวีชายากับโอรสของพระยาชมพูได้ฟังเทศนาของพระพุทธเจ้าก็เกิดความเลื่อมใสออกผนวช สุดท้ายทุกคนก็สำเร็จอรหันตผล (ข้อมูลจาก https://www.sac.or.th/databases/thailitdir/detail.php?meta_id=332) พระยาชมพูบดี ฉบับใบลานนี้มี 4 ผูก

พระยาชมพูบดี ผูก 4
หอวัฒนธรรมลาวเวียง วัดโบสถ์ พระยาชมพูบดี ผูก 4
RBR004-004พระยาชมพูบดี ผูก 4
ธรรมคดี

พระยาชมพูบดีเป็นกษัตริย์ที่มีบุญญาธิการ มีฤทธิ์เพราะมีศรวิเศษปราบได้ทั่วหล้า ด้วยพลังอำนาจนี้ทำให้พระยาชมพูบดีถือตนว่าเป็นกษัตริย์ที่ยิ่งใหญ่กว่ากษัตริย์ทุกพระองค์ในชมพูทวีป ครั้งหนึ่งพระยาชมพูเหาะผ่านปราสาทของพระเจ้าพิมพิสาร เห็นแสงของปราสาทส่องสว่างก็ไม่พอพระทัย ใช้พระบาทถีบยอดปราสาท แต่ก็ไม่อาจทำอันตรายยอดปราสาทได้เพราะอำนาจพระพุทธคุณที่คุ้มครองปราสาท แม้พระขรรค์ก็ไม่อาจทำลายยอดปราสาทได้ เมื่อพระยาชมพูกลับมาถึงเมืองจึงใช้ศรวิเศษไปเสียบพระกรรณของพระเจ้าพิมพิสาร ฝ่ายพระเจ้าพิมพิสารเห็นพระยาชมพูพยายามทำลายยอดปราสาทก็เกิดความกลัว หนีไปเฝ้าพระพุทธเจ้า ศรของพระยาชมพูตามพระเจ้าพิมพิสารมายังเชตวันวิหาร พระพุทธเจ้าทรงเนรมิตจักรขับไล่ศรของพระยาชมพู พระยาชมพูกริ้ว สั่งให้ฉลองพระบาทไปจับตัวพระเจ้าพิมพิสาร ฉลองพระบาทแปลงเป็นนาคราชไปยังเชตวันมหาวิหาร พระพุทธเจ้าบันดาลพญาครุฑไล่จับนาค นาคก็ชำแรกดินหนีกลับไปหาพระยาชมพู พระพุทธเจ้าให้พระอินทร์ไปเชิญพระยาชมพูมาเฝ้า พระยาชมพูดื้อดึง พระอินทร์ปราบพยศพระยาชมพูและบังคับให้พระยาชมพูมาเฝ้าพระพุทธเจ้า พระพุทธเจ้าให้สามเณรอรหันต์นำพระยาชมพูเข้ามาในเมือง พระยาชมพูและเหล่าอำมาตย์ไม่เคยเห็นเมืองที่มั่งคั่งและประชาชนที่งดงามดังเทวดา ก็ละอายยอมละทิฐิ ยอมออกบวชเป็นภิกษุ นางกาญจเทวีชายากับโอรสของพระยาชมพูได้ฟังเทศนาของพระพุทธเจ้าก็เกิดความเลื่อมใสออกผนวช สุดท้ายทุกคนก็สำเร็จอรหันตผล (ข้อมูลจาก https://www.sac.or.th/databases/thailitdir/detail.php?meta_id=332) พระยาชมพูบดี ฉบับใบลานนี้มี 4 ผูก

พระยาชมพูบดี ผูกต้น
หอวัฒนธรรมลาวเวียง วัดโบสถ์ พระยาชมพูบดี ผูกต้น
RBR004-001พระยาชมพูบดี ผูกต้น
ธรรมคดี

พระยาชมพูบดีเป็นกษัตริย์ที่มีบุญญาธิการ มีฤทธิ์เพราะมีศรวิเศษปราบได้ทั่วหล้า ด้วยพลังอำนาจนี้ทำให้พระยาชมพูบดีถือตนว่าเป็นกษัตริย์ที่ยิ่งใหญ่กว่ากษัตริย์ทุกพระองค์ในชมพูทวีป ครั้งหนึ่งพระยาชมพูเหาะผ่านปราสาทของพระเจ้าพิมพิสาร เห็นแสงของปราสาทส่องสว่างก็ไม่พอพระทัย ใช้พระบาทถีบยอดปราสาท แต่ก็ไม่อาจทำอันตรายยอดปราสาทได้เพราะอำนาจพระพุทธคุณที่คุ้มครองปราสาท แม้พระขรรค์ก็ไม่อาจทำลายยอดปราสาทได้ เมื่อพระยาชมพูกลับมาถึงเมืองจึงใช้ศรวิเศษไปเสียบพระกรรณของพระเจ้าพิมพิสาร ฝ่ายพระเจ้าพิมพิสารเห็นพระยาชมพูพยายามทำลายยอดปราสาทก็เกิดความกลัว หนีไปเฝ้าพระพุทธเจ้า ศรของพระยาชมพูตามพระเจ้าพิมพิสารมายังเชตวันวิหาร พระพุทธเจ้าทรงเนรมิตจักรขับไล่ศรของพระยาชมพู พระยาชมพูกริ้ว สั่งให้ฉลองพระบาทไปจับตัวพระเจ้าพิมพิสาร ฉลองพระบาทแปลงเป็นนาคราชไปยังเชตวันมหาวิหาร พระพุทธเจ้าบันดาลพญาครุฑไล่จับนาค นาคก็ชำแรกดินหนีกลับไปหาพระยาชมพู พระพุทธเจ้าให้พระอินทร์ไปเชิญพระยาชมพูมาเฝ้า พระยาชมพูดื้อดึง พระอินทร์ปราบพยศพระยาชมพูและบังคับให้พระยาชมพูมาเฝ้าพระพุทธเจ้า พระพุทธเจ้าให้สามเณรอรหันต์นำพระยาชมพูเข้ามาในเมือง พระยาชมพูและเหล่าอำมาตย์ไม่เคยเห็นเมืองที่มั่งคั่งและประชาชนที่งดงามดังเทวดา ก็ละอายยอมละทิฐิ ยอมออกบวชเป็นภิกษุ นางกาญจเทวีชายากับโอรสของพระยาชมพูได้ฟังเทศนาของพระพุทธเจ้าก็เกิดความเลื่อมใสออกผนวช สุดท้ายทุกคนก็สำเร็จอรหันตผล (ข้อมูลจาก https://www.sac.or.th/databases/thailitdir/detail.php?meta_id=332) พระยาชมพูบดี ฉบับใบลานนี้มี 4 ผูก

พระยาสังขจักรสร้างบารมี
วัดเจ็ดริ้ว พระยาสังขจักรสร้างบารมี
SKN001-048พระยาสังขจักรสร้างบารมี
ธรรมคดี

พระศรีอาริยเมตไตรยได้เสวยราชสมบัติ ในเมืองอินทปัตต์ ทรงพระนามว่าบรมสังขจักร มีแก้ว 7 ประการ พระเจ้าสังขจักรมีพระทัยปรารถนาว่า ผู้ใดมาบอกข่าวพระพุทธเจ้า พระองค์จะสละราชสมบัติพระราชทานให้แก่ผู้นั้น กุลบุตรเข็ญใจไปบรรพชาเป็นสามเณรอยู่ในพระพุทธศาสนา แจ้งข่าวแก่เรื่องพระพุทธเจ้าจึงได้ครองเมืองอินทปัตต์สืบต่อจากพระเจ้าสังขจักร ส่วนพระองค์รีบรุดไปพบพระพุทธเจ้าด้วยพระบาทเปล่า เพียงวันเดียวพระบาทก็แตกตกโลหิต จากเดินเปลี่ยนค่อยๆ ใช้พระชงค์ค่อยเคลื่อไป พระองค์ไม่ย่อท้อต่อทุกขเวทนาด้วยความเพียรทำให้พระเจ้าสังขจักรได้พบพระพุทธเจ้าและได้ฟังธรรม แต่ฟังได้เพียงบทเดียวพระเจ้าสังขจักรก็ซาบซึ้งในรสพระธรรม และได้ถวายพระเศียรของพระองค์เป็นเครื่องพลีกรรม

พระยาสี่เสาร์ ผูก 1
วัดใหม่นครบาล พระยาสี่เสาร์ ผูก 1
RBR003-229พระยาสี่เสาร์ ผูก 1
ธรรมคดี

RBR_003_223-233 รวมกันอยู่ใน “เลขที่ 48 พระยาสี่เสา ผูก 1-3 อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับล่องชาด ทองทึบ 11 ผูก” ไม่มีไม้ประกับ ไม้บัญชักทำด้วยไม้ไผ่ เขียนอักษรไทยด้วยปากกาเมจิกสีน้ำเงิน “พระยาสี่เสา มี 6 ผูก” / RBR_003_229-231 ชุดเดียวกัน ทองทึบ ทองหลุด พื้นรัก หน้าทับต้น เขียนอักษรไทยด้วยปากกาลูกลื่นสี่น้ำเงิน “พญาสี่เส้าผูกที่๑” ลานแรก ด้านซ้ายมือ เขียนอักษรไทยด้วยดินสอดำ “หน้าต้นพระยาสี่เสา” ท้ายลาน ระบุ “สํวณฺณา นิฏฺฐิตา กล่าวห้องพระยาสี่เสาผูกต้น ก็บังคมสมเร็จเสด็จแล้วเท่านี้ก่อนแล ฯ ฯ เสด็จแล้วเวลาตาวันบ่ายแลนายเอย หนังสืออาฅุ้มเพิ่นมีศรัทธามาลามาหาข้าพเจ้าตนชื่อว่า รัสสภิกขุอยู่ สร้างหนังสือพระยาสี่เสานี้หื้อได้ไว้ในศาสนาพระพุทธเจ้าแลนายเหย ขอกุศลนาบุญอันนี้ไปค้ำชูเจ้าศรัทธาเพิ่น ตนชื่อว่า อาฅุ้ม นั้นแด่เทอะ นิจฺจํ นิจฺจํ ธุวํ ธุวํ แก่ข้าแก่เทอะ น ปจฺจโย โหตุ เม ฯ๛ อาฅุ้ม บ้านดอนกอก เพิ่นชักชวนกันพร้อมกับลูก ๗ คน เอื้อยชา เอื้อยขันแก้ว หนานฅำ หนานนา เอื้อยฟอง ฅำป้อ อี่เตยเป็นลูกหล้านายเหย ขอหื้อกุศลนาบุญอันนี้ไปรอดไปเถิงชู่ผู้ชู่คนแด่เทอะ ข้าพเจ้าเขียนหนังสือ ๓ ผูกนี้ ข้าขออนุญาตโมทนาส่วนบุญกับแด่เทอะ” หน้าทับปลาย ระบุ “หน้าต้นพระยาสี่เสา ผูกต้นแล” (ตัวเอียงไม่ลงหมึก น่าจะจารทีหลัง)

พระยาสี่เสาร์ ผูก 1
วัดใหม่นครบาล พระยาสี่เสาร์ ผูก 1
RBR003-223พระยาสี่เสาร์ ผูก 1
ธรรมคดี

RBR_003_223-233 รวมกันอยู่ใน “เลขที่ 48 พระยาสี่เสา ผูก 1-3 อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับล่องชาด ทองทึบ 11 ผูก” ไม่มีไม้ประกับ ไม้บัญชักทำด้วยไม้ไผ่ เขียนอักษรไทยด้วยปากกาเมจิกสีน้ำเงิน “พระยาสี่เสา มี 6 ผูก” หน้าทับต้น เขียนอักษรไทยด้วยปากกาลูกลื่นสีดำ “พญาสี่เส้า ผูก ๑ มีกับกัน ๓ ผูก” หน้ารองหน้าทับ เขียนอักษรไทยด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “เขียนที่วัดนาหนอง ตำบลดอนแร่” ลานแรก ด้านซ้ายมือ ระบุ “ผูกต้น พระยาสี่เสา” ท้ายลาน ระบุ “สํวณฺณนา นิฏฺฐิตา กล่าวห้องพระยาสี่เสา ผูกต้น ก็บังคมสมเร็จเสด็จแล้วเท่านี้ก่อนแล ฯ ฯ เสด็จแล้ว จบแลนายเหย ยังมีโยมเมาะ โยมอิน กับอ้ายหนานหลวง กับเอื้อยนวน เอื้อยฅำ ยังมีศรัทธาหนังสือพระยาสี่เสาไว้ค้ำชูศาสนา น ปจโย โหตุ ธุวํ ธุวํ แด่เทอะ รัสสภิกขุธรรมสอนหาใบลานมาเขียนพระยาสี่เสา ค้ำชูศาสนาแด่เทอะ ละยังชักชวนกันพร้อมกับลูกชู่ผู้ชู่คนแทนเทอะแลนา ลูกหลานกับทั้งลูกหลานแลนายเหย รัสสภิกขุธรรมสอน อยู่บ้านดอนกอกแลนายเหย ตัวบ่ดีบ่งามสักน้อย เหมือนปูยาดคันนาแลนายเหย อันนี้ไปรอดไปเถิงชูผู้ชู่คนเทอะ พระพี่ ทุพี่ ค่อยพิจารณาดูเทอะ” หน้าทับปลาย ระบุ “หน้าต้นพระยาสี่เสา” เขียนอักษรธรรมล้านนาด้วยดินสอดำ “พระยาสี่เสาต้น แลนายเหยแล”

พระยาสี่เสาร์ ผูก 2
วัดใหม่นครบาล พระยาสี่เสาร์ ผูก 2
RBR003-232พระยาสี่เสาร์ ผูก 2
ธรรมคดี

RBR_003_223-233 รวมกันอยู่ใน “เลขที่ 48 พระยาสี่เสา ผูก 1-3 อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับล่องชาด ทองทึบ ๑๑ ผูก” ไม่มีไม้ประกับ ไม้บัญชักทำด้วยไม้ไผ่ เขียนอักษรไทยด้วยปากกาเมจิกสีน้ำเงิน “พระยาสี่เสา มี 6 ผูก” / RBR_003_232-233 ชุดเดียวกัน ทองทึบ ทองหลุด พื้นรัก หน้าทับต้น เขียนอักษรไทยด้วยปากาลูกลื่นสีแดง ระบุ “พญาสี่เสาผูกที่ ๒” หน้ารองหน้าทับ ระบุ “ฯ หน้าต้นพระยาสี่เสา ผูก ๒ แลนาเหย มีอยู่ ๓ ผูกและนาฯฯ๛” (เหย เขียน ห) ท้ายลาน ระบุ “สํวณฺณนา นิฏฺฐิตา กล่าวห้องพระยาสี่เสา ก็บังคมสมเร็จเสด็จแล้วเท่านี้ก่อนแล ฯฯ๛ เสด็จแล้วตาวันบ่ายแลนาเหย อันว่า รัสสภิกขุสะ เขียนบ่ดีสักหน้อย เพราะว่าบ่เคยเขียนสักคำเทื่อ ผิดที่ใดใส่หื้อจิ่มเทอะ ทุพี่ทุอาวองค์ใดก็แล้ว คันว่าได้เล่าเรียนก็ดี ได้เทศน์แล้ว อย่าไปใคร่หัวข้อยเนอ นิพฺพาน ปจฺจโย โหตุ เม นิจฺจํ ธุวํ ธุวํ แก่ข้าแด่เทอะ ๛”

พระยาสี่เสาร์ ผูก 2
วัดใหม่นครบาล พระยาสี่เสาร์ ผูก 2
RBR003-224พระยาสี่เสาร์ ผูก 2
ธรรมคดี

RBR_003_223-233 รวมกันอยู่ใน “เลขที่ 48 พระยาสี่เสา ผูก 1-3 อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับล่องชาด ทองทึบ 11 ผูก” ไม่มีไม้ประกับ ไม้บัญชักทำด้วยไม้ไผ่ เขียนอักษรไทยด้วยปากกาเมจิกสีน้ำเงิน “พระยาสี่เสา มี 6 ผูก” หน้าทับต้น เขียนอักษรไทยด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “พญาสี่เส้า ผูกที่ ๒” / ด้านหลัง เขียนอักษรธรรมล้านนาด้วยดินสอดำ “พระยาสีเสาผูก ๒”, “พระยาสีเสา ผูก ๒” ลานแรก ด้านซ้ายมือ ระบุ “ผูกปลายพระยาสี่เสา” ท้ายลาน ระบุ “สํวณฺณนา นิฏฺฐิตา กล่าวห้องพระยาสี่เสา ก็สมเร็จเสด็จแล้วเท่านี้ก่อนแล ⁜ ฯฯ บริบูรณ์เสด็จแล้วเดือน ๙ แรม ๔ ค่ำแลนายเหย ลางตัวก็ใหญ่ ลางตัวก็น้อย ลางตัวก็บิ่นหัวไปตังเหนือ ลางตัวบิ่นหัวไปตังใต้ ตัวไหขึ้นมาแล รัสสภิกขุธรรมสอนพร้อมกับโยมเมาะ โยมอิน ญาติพี่น้องวงศาชู่ผู้ชู่คนเทอะ เอื้อยอ้ายน้องแลนายเหย รัสสภิกขุธรรมสอน อยู่วัดนาหนอง บ้านอยู่ดอนกอกเกาะ ตัวบ่ดีบ่งามสักน้อย พระยาอินทร์ พระยาพรหม พระยายมราชแลนายเหย” หน้าทับปลาย เขียนอักษรไทยด้วยดินสอดำ “ปา อะ กา มุ สุ จิ”

พระยาสี่เสาร์ ผูก 2
วัดใหม่นครบาล พระยาสี่เสาร์ ผูก 2
RBR003-227พระยาสี่เสาร์ ผูก 2
ธรรมคดี

RBR_003_223-233 รวมกันอยู่ใน “เลขที่ 48 พระยาสี่เสา ผูก 1-3 อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับล่องชาด ทองทึบ 11 ผูก” ไม่มีไม้ประกับ ไม้บัญชักทำด้วยไม้ไผ่ เขียนอักษรไทยด้วยปากกาเมจิกสีน้ำเงิน “พระยาสี่เสา มี 6 ผูก” / RBR_003_226-228 ชุดเดียวกัน ทองทึบ ทองหลุด พื้นชาด หน้าทับต้น ระบุ “พระยาสี่เสา ผูก ๒ มี ๓”, “หน้าทับเค้าพระยาสี่เสา ผูก ๒ แลนาย” “ฯคันว่าพระยาสี่เ” / เขียนอักษรไทยด้วยปากกาลูกลื่นสี่น้ำเงิน “พยาสี่เสาผูก๒” ลานแรก ด้านซ้ายมือ ระบุ “พระยาสี่เสาผูกถ้วน ๒” ท้ายลาน ระบุ “ฯ สํวณฺณนา กล่าวห้องพระยาสี่เสาผูก ๒ ก็สมเร็จเสด็จแล้วเท่านี้ก่อนแล ฯ๛ บ่สนัดแท้” หน้าทับปลาย ระบุ “หน้าทับเค้าพระยาสีเสาผูก ๒ มี ๓ ผูกกับกัน บ่ใคร่สะสันทัดแท้” มีรอยแก้ไขด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน และดินสอดำ

พระยาสี่เสาร์ ผูก 3
วัดใหม่นครบาล พระยาสี่เสาร์ ผูก 3
RBR003-231พระยาสี่เสาร์ ผูก 3
ธรรมคดี

RBR_003_223-233 รวมกันอยู่ใน “เลขที่ 48 พระยาสี่เสา ผูก 1-3 อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับล่องชาด ทองทึบ 11 ผูก” ไม่มีไม้ประกับ ไม้บัญชักทำด้วยไม้ไผ่ เขียนอักษรไทยด้วยปากกาเมจิกสีน้ำเงิน “พระยาสี่เสา มี 6 ผูก” / RBR_003_229-231 ชุดเดียวกัน ทองทึบ ทองหลุด พื้นรัก หน้าทับต้น เขียนอักษรไทยด้วยปากกาลูกลื่นสี่น้ำเงิน “พญาสี่เส้าผูกที่ ๓ หน้าหลัง เขียนอักษรธรรมล้านนาด้วยดินสอดำ “พระยาสี่เสาผูก ๓ แลนา พระยาสี่เสาผูก ๓” ลานแรก ด้านซ้ายมือ จารไม่ลงหมึก “พระยาสี่เสาผูก ๓” ท้ายลาน ระบุ “กิริยาอันกล่าวจายังพระยาสี่เสาผูกถ้วน ๓ ก็แล้วเท่านี้ก่อนแล เสด็จแล้วยามเข้าไต้เข้าไฟแลนา หนังสืออาฅุ้มเป็นเค้าพร้อมกับด้วยลูกเต้า นางชาคน ๑ นางขันแก้ว หนานฅำ หนานนาบึด นางฟอง นางฅำป้อ นางเตย เป็นหล้าครัวหอม หนานพรมเพิ่นก็ชักชวนได้ขงขวายหาได้ยังใบลานมาหื้อผู้ข้าตนชื่อว่า รัสสภิกขุอยู่ เป็นผู้เขียนหื้อ

พระยาสี่เสาร์ ผูก 3
วัดใหม่นครบาล พระยาสี่เสาร์ ผูก 3
RBR003-228พระยาสี่เสาร์ ผูก 3
ธรรมคดี

RBR_003_223-233 รวมกันอยู่ใน “เลขที่ ๔๘ พระยาสี่เสา ผูก 1-3 อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับล่องชาด ทองทึบ 11 ผูก” ไม่มีไม้ประกับ ไม้บัญชักทำด้วยไม้ไผ่ เขียนอักษรไทยด้วยปากกาเมจิกสีน้ำเงิน “พระยาสี่เสา มี 6 ผูก” / RBR_003_226-228 ชุดเดียวกัน ทองทึบ ทองหลุด พื้นชาด หน้าทับต้น ระบุ “พระยาสี่เสา ผูก ๓ อยู่ปลายหมู่” / เขียนอักษรไทยด้วยปากกาลูกลื่นสี่น้ำเงิน “พยาสี่เสาผูก๓” ลานแรก ด้านซ้ายมือ ระบุ “พระยาสี่เสาผูกถ้วน ๒” ท้ายลาน ระบุ “กิริยาอันกล่าวห้องพระยาสี่เสาผูกถ้วน ๓ ก็สมเร็จเสด็จแล้วเท่านี้ก่อนแล ฯ๛ พระยาสี่เสาคัมภีร์นี้มี้มี ๓ ผูกกับกันเท่าอั้นแล ข้าเขียนบ่ดี ลางตัวก็ใหญ่ ลางตัวก็น้อย อย่าไปด่าข้าเนอ เพราะบ่สันทัดแท้ พอเป็นถ้อยอยู่ในใบลาน ข้าสร้างไว้ ขอหื้อนิพพานชาตินี้ชาติหน้า รัสสภิกขุอินทสอน อยู่วัดนองบัว ข้างวัดนา”

พระยาสี่เสาร์ ผูก 3
วัดใหม่นครบาล พระยาสี่เสาร์ ผูก 3
RBR003-225พระยาสี่เสาร์ ผูก 3
ธรรมคดี

RBR_003_223-233 รวมกันอยู่ใน “เลขที่ 48 พระยาสี่เสา ผูก 1-3 อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับล่องชาด ทองทึบ 11 ผูก” ไม่มีไม้ประกับ ไม้บัญชักทำด้วยไม้ไผ่ เขียนอักษรไทยด้วยปากกาเมจิกสีน้ำเงิน “พระยาสี่เสา มี 6 ผูก” หน้าทับต้น เขียนอักษรไทยด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “พญาสีเส้าผุกที่๓” ลานแรก ด้านซ้ายมือ ระบุ “ผูกถ้วน ๓ พระยาสี่เสา” ท้ายลาน ระบุ “กิริยาอันกล่าวจายังพระยาสี่เสา ผูกถ้วน ๓ ก็แล้วเท่านี้ก่อนแล || เสด็จแล้วยามค่ำ เดือน ๙ กลางเดือนแลนายเหย เดือน ๙ กลางเดือน จบวันเสาร์ นายเหย ตัวบ่ดีบ่งามสักน้อยนายเหย รัสสภิกขุธรรมสอน ยังหาใบลานมาเขียนแลนายเหย ทุพี่พระพี่ ค่อยพิจารณาดูเทอะ ทุพี่พระพี่เหยใคร่ได้บุญเต็มทีเจ้าเหย”

พระยาสี่เสาร์ ผูกต้น
วัดใหม่นครบาล พระยาสี่เสาร์ ผูกต้น
RBR003-226พระยาสี่เสาร์ ผูกต้น
ธรรมคดี

RBR_003_223-233 รวมกันอยู่ใน “เลขที่ 48 พระยาสี่เสา ผูก 1-3 อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับล่องชาด ทองทึบ 11 ผูก” ไม่มีไม้ประกับ ไม้บัญชักทำด้วยไม้ไผ่ เขียนอักษรไทยด้วยปากกาเมจิกสีน้ำเงิน “พระยาสี่เสา มี 6 ผูก” / RBR_003_226-228 ชุดเดียวกัน ทองทึบ ทองหลุด พื้นชาด หน้าทับต้น ระบุ “หน้าทับเค้าหนังสือพระยาสี่เสา ผูกต้น แลนายเหย ฯ๛ ฯ๛มีกับกัน ๓ ผูก นี้ผูกต้นบ่ได้อยู่ ฯ๛ ๛ ฯ๛” / เขียนอักษรไทยด้วยปากกาลูกลื่นสีดำ “พญาสี่เสาผูกที่๑” ท้ายลาน ระบุ “สํวณฺณนา กล่าวห้องพระยาสี่เสาผูกต้น ก็บังคมสมเร็จเสด็จแล้วเท่านี้ก่อนแล ฯ๛๛๛๛๛๛ เสด็จแล้วเดือน ๙ แรม ๕ วันจันทร์ ปีชวดแลนายเหย อย่าไปติข้าเนอ ยังบ่สนัดเทื่อ” มีรอยแก้ไขด้วยดินสอดำ

พระยาสี่เสาร์ ผูกปลาย(ผูก 3)
วัดใหม่นครบาล พระยาสี่เสาร์ ผูกปลาย(ผูก 3)
RBR003-233พระยาสี่เสาร์ ผูกปลาย(ผูก 3)
ธรรมคดี

RBR_003_223-233 รวมกันอยู่ใน “เลขที่ 48 พระยาสี่เสา ผูก 1-3 อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับล่องชาด ทองทึบ 11 ผูก” ไม่มีไม้ประกับ ไม้บัญชักทำด้วยไม้ไผ่ เขียนอักษรไทยด้วยปากกาเมจิกสีน้ำเงิน “พระยาสี่เสา มี 6 ผูก” / RBR_003_232-233 ชุดเดียวกัน ทองทึบ ทองหลุด พื้นรัก หน้าทับต้น ระบุ “ฯฯ หน้าต้นพระยาสี่เสาแล มีอยู่ ๓ นี้ผูกปลาย ฯฯ” ท้ายลาน ระบุ “กิริยาอันกล่าวยังห้องพระยาสี่เสาผูก ๓ ก็สมเร็จเสด็จแล้วเท่านี้ก่อนแล ฯ๛ หนังสือสี่เสานี้มีอยู่ ๓ ผูก รัสสภิกขุสะ เขียนตัวก็บ่ดีสักหน้อย บ่เคยเขียนแล ทุอาวเหยคันได้เล่าแล้วอย่าไปใคร่หัวข้อย ดูดีต่อตา”

พระยาสี่เสาร์
วัดเทียนดัด พระยาสี่เสาร์
NPT008-005พระยาสี่เสาร์
วรรณคดี

วรรณกรรมเรื่อง พระสี่เสาร์ หรือพระสี่เสาร์กลอนสวดนี้ มีที่มาจากชาดกนอกนิบาตคือ ปัญญาสชาดก โดยนำเนื้อ เรื่องจาก “สิโสรชาดก” มาแต่งเป็นวรรณกรรมกลอนสวด ชาดกในปัญญาสชาดกถือว่ามีอิทธิพลในการสร้างสรรค์งาน วรรณกรรมร้อยกรองของไทยมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา เช่น เรื่องสมุทรโฆษ เรื่องพระรถเสน เรื่องพระสุธน เป็นต้น สำหรับ เรื่องพระสี่เสาร์นี้ หมื่นพรหมสมพัตสร(มี) กวีสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้นกล่าวถึงใน “นิราศเดือน” ซึ่งสันนิษฐานว่าแต่งขึ้น ในสมัยรัชกาลที่ ๒ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว