Total : 57 pages , Total amount : 1,815 Records , Total amount : 2 Resources.
Advance Search
วรรณกรรมชาดกเรื่อง พระยาสี่เสาร์
RBR_003_223-233 รวมกันอยู่ใน “เลขที่ 48 พระยาสี่เสา ผูก 1-3 อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับล่องชาด ทองทึบ ๑๑ ผูก” ไม่มีไม้ประกับ ไม้บัญชักทำด้วยไม้ไผ่ เขียนอักษรไทยด้วยปากกาเมจิกสีน้ำเงิน “พระยาสี่เสา มี 6 ผูก” / RBR_003_232-233 ชุดเดียวกัน ทองทึบ ทองหลุด พื้นรัก หน้าทับต้น เขียนอักษรไทยด้วยปากาลูกลื่นสีแดง ระบุ “พญาสี่เสาผูกที่ ๒” หน้ารองหน้าทับ ระบุ “ฯ หน้าต้นพระยาสี่เสา ผูก ๒ แลนาเหย มีอยู่ ๓ ผูกและนาฯฯ๛” (เหย เขียน ห) ท้ายลาน ระบุ “สํวณฺณนา นิฏฺฐิตา กล่าวห้องพระยาสี่เสา ก็บังคมสมเร็จเสด็จแล้วเท่านี้ก่อนแล ฯฯ๛ เสด็จแล้วตาวันบ่ายแลนาเหย อันว่า รัสสภิกขุสะ เขียนบ่ดีสักหน้อย เพราะว่าบ่เคยเขียนสักคำเทื่อ ผิดที่ใดใส่หื้อจิ่มเทอะ ทุพี่ทุอาวองค์ใดก็แล้ว คันว่าได้เล่าเรียนก็ดี ได้เทศน์แล้ว อย่าไปใคร่หัวข้อยเนอ นิพฺพาน ปจฺจโย โหตุ เม นิจฺจํ ธุวํ ธุวํ แก่ข้าแด่เทอะ ๛”
RBR_003_223-233 รวมกันอยู่ใน “เลขที่ 48 พระยาสี่เสา ผูก 1-3 อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับล่องชาด ทองทึบ 11 ผูก” ไม่มีไม้ประกับ ไม้บัญชักทำด้วยไม้ไผ่ เขียนอักษรไทยด้วยปากกาเมจิกสีน้ำเงิน “พระยาสี่เสา มี 6 ผูก” / RBR_003_229-231 ชุดเดียวกัน ทองทึบ ทองหลุด พื้นรัก ท้ายลาน ระบุ “สํวณฺณนา นิฏฺฐิตา กล่าวห้องสี่เสา ก็สมเร็จเสด็จแล้วเท่านี้ก่อนแล ฯฯ บริบูรณ์เสด็จแล้วเดือน ๔ แรม ๑๔ ค่ำแลนายเหย ฯฯ ลางตัวก็ใหญ่ ลางตัวก็น้อย ลางตัวบิ่นหัวไปทางเหนือ ลางตัวบิ่นหัวไปทางใต้ ลางตัวไห่ขึ้นมาแลนายเหย”
RBR_003_223-233 รวมกันอยู่ใน “เลขที่ 48 พระยาสี่เสา ผูก 1-3 อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับล่องชาด ทองทึบ 11 ผูก” ไม่มีไม้ประกับ ไม้บัญชักทำด้วยไม้ไผ่ เขียนอักษรไทยด้วยปากกาเมจิกสีน้ำเงิน “พระยาสี่เสา มี 6 ผูก” / RBR_003_226-228 ชุดเดียวกัน ทองทึบ ทองหลุด พื้นชาด หน้าทับต้น ระบุ “พระยาสี่เสา ผูก ๒ มี ๓”, “หน้าทับเค้าพระยาสี่เสา ผูก ๒ แลนาย” “ฯคันว่าพระยาสี่เ” / เขียนอักษรไทยด้วยปากกาลูกลื่นสี่น้ำเงิน “พยาสี่เสาผูก๒” ลานแรก ด้านซ้ายมือ ระบุ “พระยาสี่เสาผูกถ้วน ๒” ท้ายลาน ระบุ “ฯ สํวณฺณนา กล่าวห้องพระยาสี่เสาผูก ๒ ก็สมเร็จเสด็จแล้วเท่านี้ก่อนแล ฯ๛ บ่สนัดแท้” หน้าทับปลาย ระบุ “หน้าทับเค้าพระยาสีเสาผูก ๒ มี ๓ ผูกกับกัน บ่ใคร่สะสันทัดแท้” มีรอยแก้ไขด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน และดินสอดำ
RBR_003_223-233 รวมกันอยู่ใน “เลขที่ 48 พระยาสี่เสา ผูก 1-3 อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับล่องชาด ทองทึบ 11 ผูก” ไม่มีไม้ประกับ ไม้บัญชักทำด้วยไม้ไผ่ เขียนอักษรไทยด้วยปากกาเมจิกสีน้ำเงิน “พระยาสี่เสา มี 6 ผูก” หน้าทับต้น เขียนอักษรไทยด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “พญาสี่เส้า ผูกที่ ๒” / ด้านหลัง เขียนอักษรธรรมล้านนาด้วยดินสอดำ “พระยาสีเสาผูก ๒”, “พระยาสีเสา ผูก ๒” ลานแรก ด้านซ้ายมือ ระบุ “ผูกปลายพระยาสี่เสา” ท้ายลาน ระบุ “สํวณฺณนา นิฏฺฐิตา กล่าวห้องพระยาสี่เสา ก็สมเร็จเสด็จแล้วเท่านี้ก่อนแล ⁜ ฯฯ บริบูรณ์เสด็จแล้วเดือน ๙ แรม ๔ ค่ำแลนายเหย ลางตัวก็ใหญ่ ลางตัวก็น้อย ลางตัวก็บิ่นหัวไปตังเหนือ ลางตัวบิ่นหัวไปตังใต้ ตัวไหขึ้นมาแล รัสสภิกขุธรรมสอนพร้อมกับโยมเมาะ โยมอิน ญาติพี่น้องวงศาชู่ผู้ชู่คนเทอะ เอื้อยอ้ายน้องแลนายเหย รัสสภิกขุธรรมสอน อยู่วัดนาหนอง บ้านอยู่ดอนกอกเกาะ ตัวบ่ดีบ่งามสักน้อย พระยาอินทร์ พระยาพรหม พระยายมราชแลนายเหย” หน้าทับปลาย เขียนอักษรไทยด้วยดินสอดำ “ปา อะ กา มุ สุ จิ”
RBR_003_223-233 รวมกันอยู่ใน “เลขที่ 48 พระยาสี่เสา ผูก 1-3 อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับล่องชาด ทองทึบ 11 ผูก” ไม่มีไม้ประกับ ไม้บัญชักทำด้วยไม้ไผ่ เขียนอักษรไทยด้วยปากกาเมจิกสีน้ำเงิน “พระยาสี่เสา มี 6 ผูก” / RBR_003_229-231 ชุดเดียวกัน ทองทึบ ทองหลุด พื้นรัก หน้าทับต้น เขียนอักษรไทยด้วยปากกาลูกลื่นสี่น้ำเงิน “พญาสี่เส้าผูกที่ ๓ หน้าหลัง เขียนอักษรธรรมล้านนาด้วยดินสอดำ “พระยาสี่เสาผูก ๓ แลนา พระยาสี่เสาผูก ๓” ลานแรก ด้านซ้ายมือ จารไม่ลงหมึก “พระยาสี่เสาผูก ๓” ท้ายลาน ระบุ “กิริยาอันกล่าวจายังพระยาสี่เสาผูกถ้วน ๓ ก็แล้วเท่านี้ก่อนแล เสด็จแล้วยามเข้าไต้เข้าไฟแลนา หนังสืออาฅุ้มเป็นเค้าพร้อมกับด้วยลูกเต้า นางชาคน ๑ นางขันแก้ว หนานฅำ หนานนาบึด นางฟอง นางฅำป้อ นางเตย เป็นหล้าครัวหอม หนานพรมเพิ่นก็ชักชวนได้ขงขวายหาได้ยังใบลานมาหื้อผู้ข้าตนชื่อว่า รัสสภิกขุอยู่ เป็นผู้เขียนหื้อ
RBR_003_223-233 รวมกันอยู่ใน “เลขที่ ๔๘ พระยาสี่เสา ผูก 1-3 อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับล่องชาด ทองทึบ 11 ผูก” ไม่มีไม้ประกับ ไม้บัญชักทำด้วยไม้ไผ่ เขียนอักษรไทยด้วยปากกาเมจิกสีน้ำเงิน “พระยาสี่เสา มี 6 ผูก” / RBR_003_226-228 ชุดเดียวกัน ทองทึบ ทองหลุด พื้นชาด หน้าทับต้น ระบุ “พระยาสี่เสา ผูก ๓ อยู่ปลายหมู่” / เขียนอักษรไทยด้วยปากกาลูกลื่นสี่น้ำเงิน “พยาสี่เสาผูก๓” ลานแรก ด้านซ้ายมือ ระบุ “พระยาสี่เสาผูกถ้วน ๒” ท้ายลาน ระบุ “กิริยาอันกล่าวห้องพระยาสี่เสาผูกถ้วน ๓ ก็สมเร็จเสด็จแล้วเท่านี้ก่อนแล ฯ๛ พระยาสี่เสาคัมภีร์นี้มี้มี ๓ ผูกกับกันเท่าอั้นแล ข้าเขียนบ่ดี ลางตัวก็ใหญ่ ลางตัวก็น้อย อย่าไปด่าข้าเนอ เพราะบ่สันทัดแท้ พอเป็นถ้อยอยู่ในใบลาน ข้าสร้างไว้ ขอหื้อนิพพานชาตินี้ชาติหน้า รัสสภิกขุอินทสอน อยู่วัดนองบัว ข้างวัดนา”
RBR_003_223-233 รวมกันอยู่ใน “เลขที่ 48 พระยาสี่เสา ผูก 1-3 อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับล่องชาด ทองทึบ 11 ผูก” ไม่มีไม้ประกับ ไม้บัญชักทำด้วยไม้ไผ่ เขียนอักษรไทยด้วยปากกาเมจิกสีน้ำเงิน “พระยาสี่เสา มี 6 ผูก” หน้าทับต้น เขียนอักษรไทยด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “พญาสีเส้าผุกที่๓” ลานแรก ด้านซ้ายมือ ระบุ “ผูกถ้วน ๓ พระยาสี่เสา” ท้ายลาน ระบุ “กิริยาอันกล่าวจายังพระยาสี่เสา ผูกถ้วน ๓ ก็แล้วเท่านี้ก่อนแล || เสด็จแล้วยามค่ำ เดือน ๙ กลางเดือนแลนายเหย เดือน ๙ กลางเดือน จบวันเสาร์ นายเหย ตัวบ่ดีบ่งามสักน้อยนายเหย รัสสภิกขุธรรมสอน ยังหาใบลานมาเขียนแลนายเหย ทุพี่พระพี่ ค่อยพิจารณาดูเทอะ ทุพี่พระพี่เหยใคร่ได้บุญเต็มทีเจ้าเหย”
RBR_003_223-233 รวมกันอยู่ใน “เลขที่ 48 พระยาสี่เสา ผูก 1-3 อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับล่องชาด ทองทึบ 11 ผูก” ไม่มีไม้ประกับ ไม้บัญชักทำด้วยไม้ไผ่ เขียนอักษรไทยด้วยปากกาเมจิกสีน้ำเงิน “พระยาสี่เสา มี 6 ผูก” / RBR_003_226-228 ชุดเดียวกัน ทองทึบ ทองหลุด พื้นชาด หน้าทับต้น ระบุ “หน้าทับเค้าหนังสือพระยาสี่เสา ผูกต้น แลนายเหย ฯ๛ ฯ๛มีกับกัน ๓ ผูก นี้ผูกต้นบ่ได้อยู่ ฯ๛ ๛ ฯ๛” / เขียนอักษรไทยด้วยปากกาลูกลื่นสีดำ “พญาสี่เสาผูกที่๑” ท้ายลาน ระบุ “สํวณฺณนา กล่าวห้องพระยาสี่เสาผูกต้น ก็บังคมสมเร็จเสด็จแล้วเท่านี้ก่อนแล ฯ๛๛๛๛๛๛ เสด็จแล้วเดือน ๙ แรม ๕ วันจันทร์ ปีชวดแลนายเหย อย่าไปติข้าเนอ ยังบ่สนัดเทื่อ” มีรอยแก้ไขด้วยดินสอดำ
RBR_003_223-233 รวมกันอยู่ใน “เลขที่ 48 พระยาสี่เสา ผูก 1-3 อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับล่องชาด ทองทึบ 11 ผูก” ไม่มีไม้ประกับ ไม้บัญชักทำด้วยไม้ไผ่ เขียนอักษรไทยด้วยปากกาเมจิกสีน้ำเงิน “พระยาสี่เสา มี 6 ผูก” / RBR_003_232-233 ชุดเดียวกัน ทองทึบ ทองหลุด พื้นรัก หน้าทับต้น ระบุ “ฯฯ หน้าต้นพระยาสี่เสาแล มีอยู่ ๓ นี้ผูกปลาย ฯฯ” ท้ายลาน ระบุ “กิริยาอันกล่าวยังห้องพระยาสี่เสาผูก ๓ ก็สมเร็จเสด็จแล้วเท่านี้ก่อนแล ฯ๛ หนังสือสี่เสานี้มีอยู่ ๓ ผูก รัสสภิกขุสะ เขียนตัวก็บ่ดีสักหน้อย บ่เคยเขียนแล ทุอาวเหยคันได้เล่าแล้วอย่าไปใคร่หัวข้อย ดูดีต่อตา”
วรรณกรรมเรื่อง พระสี่เสาร์ หรือพระสี่เสาร์กลอนสวดนี้ มีที่มาจากชาดกนอกนิบาตคือ ปัญญาสชาดก โดยนำเนื้อ เรื่องจาก “สิโสรชาดก” มาแต่งเป็นวรรณกรรมกลอนสวด ชาดกในปัญญาสชาดกถือว่ามีอิทธิพลในการสร้างสรรค์งาน วรรณกรรมร้อยกรองของไทยมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา เช่น เรื่องสมุทรโฆษ เรื่องพระรถเสน เรื่องพระสุธน เป็นต้น สำหรับ เรื่องพระสี่เสาร์นี้ หมื่นพรหมสมพัตสร(มี) กวีสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้นกล่าวถึงใน “นิราศเดือน” ซึ่งสันนิษฐานว่าแต่งขึ้น ในสมัยรัชกาลที่ ๒ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระวิภังคปกรณ์ ผูก ๒ อธิบายข้อธรรมที่รวมเป็นหมวดหมู่(เรียกวิภังค์หนึ่งๆ) แยกแยะออกอธิบายชี้แจงวินิจฉัยโดยละเอียด พระพุทธเจ้าได้ทรงแสดงพระอภิธรรมนี้ในพรรษาที่ ๗ นับจากตรัสรู้ ครั้งเมื่อพระองค์เสด็จไปโปรดพระพุทธมารดาที่สวรรค์ชั้นดาวดึงส์ พระองค์เสด็จไปประทับเหนือบัณฑุกัมพลศิลาอาสน์ ภายใต้ต้นปาริชาต พระอินทร์ทราบจึงรีบเสด็จไปยังภพดุสิตอันเป็นที่สถิตของพระสิริมหามายาแล้วกราบทูล พระสิริมหามายาทรงสดับและทรงโสมนัสจึงเสด็จจากภพดุสิตไปภพดาวดึงส์ พระพุทธเจ้าทรงเหยียดพระหัตถ์เบื้องขวาตรัสเชิญพระสิริมหามายาพุทธมารดาให้เข้าไปใกล้ ให้เป็นประธานแก่เทพยดาทั้งหลาย แล้วจึงโปรดประทานพระธรรมเทศนาอภิธรรม ๗ คัมภีร์ เริ่มตั้งแต่วันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๘ ตามลำดับจนครบสามเดือน ในวันขึ้น ๑๔ ค่ำ เดือน ๑๑ พระอภิธรรมนี้ ชาวพุทธถือว่าออกจากพระโอษฐ์ของพระพุทธเจ้าเป็นธรรมที่พระพุทธองค์ ทรงเทศนาโปรดเทพยดามีพระพุทธมารดาเป็นประธานเป็นการแสดงความกตัญญูกตเวทีต่อพระพุทธมารดา
พระอภิธรรมเจ็ดคัมภีร์ ผูก 2 วิภังค์
พระอภิธรรมเจ็ดคัมภีร์ ผูก 2 พระวิภังค์
พระมหาโมคคัลลานเถระถามเทพบุตร เทพธิดา ถึงอดีตกรรมที่ส่งผลให้ได้ เกิดในวิมานนั้น ๆ เช่น การทำอัญชลีกรรมต่อท่านผู้มีศีลบ้าง, การถวายทานบ้าง, การรักษาศีลบ้าง, การจุดไฟเพื่อประโยชน์แก่คนไปมาในที่มืดบ้าง, การฟังธรรมบ้าง, การรักษาอุโบสถบ้าง มีคำตอบของผู้ถูกถามเป็นราย ๆ ไป รวม 85 ราย ข้อมูลจาก http://www.larnbuddhism.com/tripitaka/prasuttanta/k18.html