เอกสารโบราณในประเทศไทย

Manuscripts of Thailand

Total : 57 pages , Total amount : 1,815 Records , Total amount : 2 Resources.

ป่าวเทพดาราธนาสังภาษและถวายข้าวทาน
หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ป่าวเทพดาราธนาสังภาษและถวายข้าวทาน
NPH001-072ป่าวเทพดาราธนาสังภาษและถวายข้าวทาน
ตำราโหราศาสตร์,ประเพณีและพิธีกรรม,พุทธศาสนา

ป่าวเทวดา คือ คำประกาศเชิญเทวดามาชุมนุมในพิธีกรรม ซึ่งเป็นธรรมเนียมของชาวพุทธที่กระทำกิจพิธีมงคลหรือพิธีกรรมอื่น ๆ เช่น สะเดาะเคราะห์ เจ้าพิธี (ได้แก่ พระสงฆ์ หรือ เจ้าพิธี) จะกล่าวประกาศอัญเชิญเทพเจ้าเทวดาในสากลพิภพมาร่วมพิธีกรรมนั้นด้วย ดังที่ชาวภาคกลางจะใช้คาถาชุมนุมเทวดา ที่เรียกว่า “สัคเค กาเม จ รูเป …ฯลฯ” เมื่อประกาศเชิญเทพชุมนุมแล้วจึงเริ่มพิธีกรรมนั้น ๆ ต่อไป (ข้อมูลอ้างอิง : ธวัช ปุณโณทก. “ป่าวเทวดา, คำ : บทสวด.” สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคอีสาน เล่ม 8. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย์, 2542: 2666-2668.) ทะเบียนของหอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ คือ (23) สบ. 23.1.4/72 นายทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ได้มอบให้หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติเก็บรักษา หมายเหตุ ใบลานมาจากคนละผูก ชำรุดขาดแหว่ง 2 ใบ

ป่าวเทวดาฟังธรรม
หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ป่าวเทวดาฟังธรรม
NPH001-074ป่าวเทวดาฟังธรรม
ประเพณีและพิธีกรรม,พุทธศาสนา

ป่าวเทวดา คือ คำประกาศเชิญเทวดามาชุมนุมในพิธีกรรม ซึ่งเป็นธรรมเนียมของชาวพุทธที่กระทำกิจพิธีมงคลหรือพิธีกรรมอื่น ๆ เช่น สะเดาะเคราะห์ เจ้าพิธี (ได้แก่ พระสงฆ์ หรือ เจ้าพิธี) จะกล่าวประกาศอัญเชิญเทพเจ้าเทวดาในสากลพิภพมาร่วมพิธีกรรมนั้นด้วย ดังที่ชาวภาคกลางจะใช้คาถาชุมนุมเทวดา ที่เรียกว่า “สัคเค กาเม จ รูเป …ฯลฯ” เมื่อประกาศเชิญเทพชุมนุมแล้วจึงเริ่มพิธีกรรมนั้น ๆ ต่อไป (ข้อมูลอ้างอิง : ธวัช ปุณโณทก. “ป่าวเทวดา, คำ : บทสวด.” สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคอีสาน เล่ม 8. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย์, 2542: 2666-2668.) ทะเบียนของหอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ คือ (23) สบ. 23.1.4/1 นายทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ได้มอบให้หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติเก็บรักษา

ปุณณนาคกุมาร
วัดใหม่นครบาล ปุณณนาคกุมาร
RBR003-358ปุณณนาคกุมาร
ธรรมคดี

หน้าต้น ระบุ “ıı หน้าทับเค้า หนังสือ ปุณณนาคกุมาร ม่วนดีมีผู้เดียวแล นายเหย ฯıı ๒๑ ล้าน อ้ายหนานสร้างไปหื้อ” (ตัวเอียง จารด้วยอักษรไทย) / เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “เรื่องทอดกฐิน บุนะคะกุมาร ปุณณกกุมาร” ท้ายลาน ระบุ “ปุณฺณนาคราชชาตกํ นิฏฺฐิตํ กริยาอันกล่าวยังปุณณนาคกุมารผูกเดียว ก็สมเร็จเสด็จแล้วเท่านี้ก่อนแล ฯıı๛ เสด็จแล้วจับยามใกล้จักเพล เดือน ๑ กลางเดือน ตัวบ่ดีสักน้อย อย่าไปด่าข้อยเนอ เพราะฟั่งเขียน อยากใคร่สิกข์ เต็มที ıฯ โอ้ละหนอ จุ่นบุ่น แม่ทูนหัวเหย พี่คั่วทอด น้องกินข้าว ก็เป็นความสะมัก กินผักเดก็เป็นความสะท้อน ความย้อนทั้งเจ้าจ่มหาแกมดอกดูข้อย ขนครัวชูเป็นลูกเขย สู่อีแม่เจ้า ๚ ๛”