Total : 58 pages , Total amount : 1,845 Records , Total amount : 2 Resources.
Advance Search
เนื้อหากล่าวถึง การอาบน้ำชำระล้าง (กูสูน) ในโอกาสต่าง ๆ บทสวดขอพร (ดุอา) ในโอกาสต่าง ๆ เช่น วันอีด ดุอาตวงข้าว ชะกาตฟิตเราะห์ การอาบน้ำละหมาด การเสียน้ำละหมาด กฎเกณฑ์และขั้นตอนของการละหมาด
หน้าต้น เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาลูกลื่นสีแเดง “ไก่นอ้ยผูกเดียว” ท้ายลาน ระบุ “กุกฺกุฏฺฏฺฐํ กริยาอันกล่าวยังนิทานไก่น้อยไก่โจก ก็สมเร็จเสด็จแล้วเท่านี้ก่อนแล ฯ๛ นิพฺพาน ปจฺจโย โหตุ เม ธุวํ ธุวํ แท้เทอะ”
RBR_003_325 อยู่ใน “เลขที่ ๑๔๒ ตำนานตะโก้ง อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ, ล่องชาด ๗ ผูก” หน้าต้น ระบุ “หน้าทับเค้าธาตุตะคู้ง มีผูก ๑ เสด็จแล้ว ปีซร (ฉลู?) ยามบ่ายแล เดือน ๑๐ แรม ๑ สาม ค่ำ พร่ำว่าได้วัน ส ส ร ภิกขุน้อยเป็นผู้จาร ตัวบ่ดีสักน้อย หนังสือธาตุตะคูง มีผูกเดียว” / เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “ตำนานพระเกสาธาตุเจ้าตะกุ้ง” หน้ารองหน้าต้น ระบุ “โยมธิม (ทิม?) บ้านล่องโภงาม (ร่องโพธิ์งาม?) สร้างไว้ในศาสนาแลนายเหย ข้าขอกุศลนาบุญจิ่มเทอะ ขอหื้อไปถึงปิตตาและมาดาข้าแล” / ด้านหลัง ระบุ “หน้าทับเค้าธาตุตะกู้งมีผูกเดียว” ท้ายลาน ระบุ “สํวณฺณนา นิฏฺฐิตา กริยาอันกล่าวยังนิทานตำนานพระเกสาธาตุเจ้าตะกู้ง ก็บังคมเสด็จแล้วเท่านี้ก่อนแล ธุวํ ธุวํ ธุวํ แก่ข้าแด่เทอะ บ่ดีสักน้อยเพราะว่าบ่ชำนาญ ผิดที่ใดใส่หื้อจิ่มเนอ ทุพี่ทุอาวเหย”
RBR_003_328 อยู่ใน “เลขที่ ๑๔๒ ตำนานตะโก้ง อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ, ล่องชาด ๗ ผูก” หน้าต้น เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “ตำนานธาตุตะกุ้ง” ท้ายลาน ระบุ “สํวณฺณนา นิฏฺฐิตา กริยาอันกล่าวยังนิ ฯ ทานตำนานพระเกสาธาตุเจ้าตะคู้ง ก็บังคมสมเร็จเสด็จแล้วเท่านี้ก่อนแล แลฯ๛ หนังสือธาตุตะโคง ผูกเดียวแล ธุวํ วํ ข้าแด่เทอะ บ่ดีสักหน้อย แล นายเหย ผิดที่ใดใส่หื้อจิ่มเทอะ อาราทฺธนํ กโรมิ หนังสือโยมพิน โยมนาย และพี่น้องเหย”
RBR_003_329 อยู่ใน “เลขที่ ๑๔๒ ตำนานตะโก้ง อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ, ล่องชาด ๗ ผูก” หน้าต้น ระบุ “พระธาตุตะคู่งมีผูกเดียว” / เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “พระธาตุตะกุ้ง” หน้าหลัง หน้าต้น “๚ ห[น้]าทับเค้า ธาตุตะคูง มีผูกเดียวเท่า ฯıı นี้ เสด็จแล้วปีมะแม ยามบ่ายแล เดือนแปด แรมสี่ค่ำ พร่ำว่าได้วันทิตย์ หนังสือธาตุตะคู่งมี พรหมสุกฺขา ” (ตัวเอียง จารขึ้นทีหลัง) ท้ายลาน ระบุ “สํวณฺณนา นิฏฺฐิตา กริยาอันกล่าวยังนิทานตำนานพระเกสาธาตุเจ้าตะคู่ง ก็บังคมสมเร็จเสด็จแล้วเท่านี้ก่อนแล ฯııะ๛ ฯ ธุวํ ธุวํ แก่ข้าแด่เทอะ บ่ดีสักน้อยเพราะว่าบ่สะนาน (ชำนาญ) ผิดที่ใดใส่หื้อจิ่มเนอ ฯıı๛”
การปฏิบัติพระกัมมัฏฐานนั้นก็เพื่อชำระจิตของผู้ปฏิบัติให้บริสุทธิ์สะอาดหมดจดจนกระทั่งถึงบรรลุมรรคผลนิพพาน
ครั้งหนึ่งพระสารีบุตรได้กล่าวกับภิกษุทั้งหลายในวิหารเวฬุวันว่า “นิพพานนี้เป็นสุข” พระอุทายีตั้งข้อสังกาว่า “นิพพานนี้ไม่มีเวทนา เป็นสุขได้อย่างไร” พระสารีบุตรจึงได้กล่าวว่า “นิพพานไม่มีเวทนานี้แลหะจึงเป็นสุข” พร้อมกับอธิบายถึงสุขที่เกิดขึ้นจากกามสุขทั้ง 5 และอธิบายว่า ถึงแม้ภิกษุที่บรรลุฌานชั้นต่างๆ ตั้งแต่ ปฐมฌานไปจนถึง เนวสัญญานาสัญญาตนฌาน ก็ไม่สามารถปราศจากทุกข์ได้ ต่อเมื่อบรรลุเนวสัญญาสัญญาตนฌานโดยประการทั้งปวง อาสวะทั้งหลายก็สิ้นแล้วเพราะเห็นด้วยปัญญา จึงรู้ว่านิพพานนี้เป็นสุขอย่างไร
พระสูตรว่าด้วยนิพพาน
พระสูตรว่าด้วยเรื่อง นิพพาน
พระสูตรว่าด้วยเรื่องนิพพาน
พระสูตร ว่าด้วยนิพพาน
พระสูตร นิพพานสูตร