Total : 57 pages , Total amount : 1,815 Records , Total amount : 2 Resources.
Advance Search
เตมียราชกุมารไม่ต้องการครองราชย์สืบต่อจากพระราชบิดา ด้วยเพราะทรงเห็นพระราชบิดาลงโทษโจรด้วยความทารุณ ทำให้พระองค์ทรงระลึกถึงอดีตชาติที่พระองค์ทรงเคยเป็นพระราชาครองเมืองนี้ และได้กระทำบาปกรรมทำให้ต้องตกนรกถึงแปดหมื่นปี จึงแกล้งทำตัวเป็นใบ้ หูหนวก เป็นง่อย ไม่ว่าพระราชบิดาพระราชมารดาจะทดสอบด้วยวิธีการใด เตมียราชกุมารก็ไม่ปรากฎอาการพิรุธใดๆ จนพระชนมายุ 16 พรรษา พวกพราหมณ์ทำนายว่า เตมียราชกุมารเป็นคนกาลกิณี ให้นำไปฝังเสียที่ป่าช้า โดยมอบให้สารถีขับรถม้าบรรทุกเตมียรากุมารไปจัดการเพียงผู้เดียว ขณะที่สารถีกำลังขุดหลุมเตมียราชกุมารก็ลงจากรถและสนทนากับสารถีว่าตนไม่อยากครองราชย์แต่ประสงค์ออกบวช และได้แสดงธรรมให้สารถีฟัง สารถีเลื่อมใสจึงขออกบวชด้วย แต่เตมียกุมารไม่ยินยอม บอกให้สารถีเอารถไปคืนและแจ้งแก่พระราชบิดาและพระราชมารดาของตน เมื่อฝ่ายคนในวังรู้จึงออกไปทูลให้เตมียราชกุมารกลับไปครองเมือง แต่เตมียราชกุมารปฏิเสธและได้แสดงธรรมให้เหล่าผู้ที่มาทั้งหมดได้ฟัง เมื่อได้ฟังแล้วทำให้เกิดความเลื่อมใสจึงขอออกบวชตามเตมียราชกุมารทั้งหมด
หน้าต้น เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “เต่าน้อยอองคำ” หน้าปลาย เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาลูกลื่นสีแดง “เต่าน้อยอองคำ”
หน้าต้น ระบุ “๚ หน้าทับเค้า ชื่อว่า เต่าน้อยอองคำ ฯ๛” หน้ารอง หน้าต้น ระบุ “ หน้าทับเค้า ชื่อว่า เต่าน้อยอองคำแล นางอุทธรา เพิ่นก็ว่า ฯฯ๛ ๚ ชื่อว่า ภิกขุธรรมสอนสร้างแล ๚ฯฯ๛” / เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาลูกลื่นสีแดง “เต่าน้อยอองคำ”
ลานแรก หัวลาน ระบุ “เต่าคำ” เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาน้ำเงิน “เต่าคำ ผูกเดียว” ท้ายลาน ระบุ “สุวณฺณชาตกํ นิฏฺฐิตํ กล่าวเถิง[เจ้าสุวรรณเต่าคำ] ก็แล้วด้วยประการเท่านี้ก่อนแล เสด็จแล้วยามเมื่อฉันข้าวเพลแล นายที่ไว้เหยสุวรรณเต่าคำ ๛ ทั้งงามหาบ่ได้สักหยาด พอดูแท้ เหมือนปูยาดคันนาแลนายเหย ภิกขุยานะเขียนแล ทุพี่หลวงกิงทา เป็นศรัทธาแล ตกที่ใดขอสาธุเจ้าตนใดได้เล่าได้เรียนใส่หื้อข้าจิ่มเนอ ขอเจ้าที่ไว้ขออย่าไปด่าหีแม่ข้าแด่เทอะ ออกอีนายมาปลูกนาแขกใกล้หัวใจ กากีก็พลั้งก็บ่พลาดไปนา เพราะว่าใคร่ได้บุญแลนายเหย ทั้งงามห่อข้าวหา ๓ วัน ขำก็บ่ได้แลนายเหย”
สมุดไทยบันทึกวรรณกรรมชาดเรื่อง เต่าน้อยอองคำ หรือ นางอุทธรา ด้านในมีเรื่อง อภิธรรมสังคหะ และคาถาสวดถอนเรือน แทรกอยู่
ลานแรก หัวลาน เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “แต่งแก้เสดาะเคราะห์”
ทะเบียนของหอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ คือ (23) สบ. 23.1.4/65 นายทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ได้มอบให้หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติเก็บรักษา
สมุดไทยบันทึกธรรมคดีเกี่ยวกับการเทศนาเรื่องไตรลักษณ์
พระเวสสันดรชาดก กัณฑ์ทศพร
พระมหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์ทศพร
มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์ที่ 1 ทศพร
ทะสองรูปพระเจ้า หรือฉลองรูปพระเจ้า เป็นวรรณกรรมอานิสงส์
สมุดไทยบันทึกวรรณกรรมพื้นบ้านเรื่อง ท้าวลินทอง
ท้าวลินทอง เป็นการตั้งชื่อเรื่องจากตัวละครเอกที่ชื่อ “ลินทอง” เพื่อสอดคล้องกับตัวละครเอกที่ในอดีตชาติ “ลินทอง” เป็นพระโพธิ์สัตว์กลับชาติมาเกิดเป็นพระพุทธเจ้า วรรณกรรมท้องถิ่นเรื่อง ลินทอง เป็นวรรณกรรมศาสนา เป็นเรื่องเกี่ยวกับการใช้ถ้อยคำ เรื่องการทูต หรือเรื่องคารมเสน่หา จนในปัจจุบันผู้คนนิยมเอาคาถาลินทองไปเจรจาธุรกิจ หรือเอาไปใช้ในการจีบผู้หญิง
ทะเบียนของหอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ คือ (23) สบ. 23.1.4/77 นายทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ได้มอบให้หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติเก็บรักษา
ทะเบียนของหอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ คือ (23) สบ. 23.1.4/62 นายทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ได้มอบให้หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติเก็บรักษา หมายเหตุ ใบลานมีหลายขนาด คาดว่ามาจากคนละผูก ปลายลานขาดเล็กน้อย
สมุดไทยบันทึกตำราโหราศาสตร์ ทำนายพยากรณ์ เช่น ตำราดูข้างขึ้นข้างแรมกระทำการมงคล, ตำราดูธาตุสมพงศ์, กลอนพระมาลัย ฯลฯ
หน้าต้นเป็นโหราศาสตร์ ทำนายสงกรานต์ ทำนายฝน มีรูปวัว และการทำนายต่างๆ, (เส้นขาวหัวกลับ เป็นเรื่องคำสอนพระพุทธศาสนา), หน้าปลาย เป็นเรื่องตำรายา ยาแก้ลมจุกเสียด
RBR_003_249-251 รวมกัน ไม่มีฉลาก หน้าทับต้น เขียนอักษรไทยด้วยปากกาลูกลื่นสีแดง “ตีบทั้ง ๔ ผูกเดียว” / เขียนอักษรไทยด้วยดินสอดำ “วันที่ ๑ มกราคม พศ ๒๔X๔” ลานแรก ด้านซ้ายมือ ระบุ “ทีปทั้ง ๔ ผูกเดียว” ท้ายลาน ระบุ “สังขยาจาด้วยนารกก็แล้วเท่านี้ก่อนแลฯฯ๛” มีรอยแก้ไขด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน