ชุดข้อมูลจารึกพุทธศตวรรษที่ 19
ชุดข้อมูลชุดนี้เป็นข้อมูลของจารึกที่พบช่วงพุทธศตวรรษที่ 19 (พ.ศ.1801-1900) จารึกที่พบเป็นอักษรขอมโบราณ อักษรไทยน้อย และอักษรไทยสุโขทัย
title | type | description | subject | spatial | temporal | language | source.uri | |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 |
จารึกเสาแปดเหลี่ยม (วัดพระศรีรัตนศาสดาราม) |
ขอมโบราณ |
ระบุเพียงวัน, เดือน, ปี |
จารึกเสาแปดเหลี่ยม, กท. 37, กท. 37, หลักที่ 39 จารึกเสาศิลาแปดเหลี่ยม, หลักที่ 39 จารึกเสาศิลาแปดเหลี่ยม, ม.ศ. 1238, ม.ศ. 1238, พ.ศ. 1859, พ.ศ. 1859, พุทธศักราช 1859, พุทธศักราช 1859, มหาศักราช 1238, มหาศักราช 1238, ศิลา, หินทรายสีเขียว, เสาแปดเหลี่ยม, หน้าพระอุโบสถ, วัดพระศรีรัตนศาสดาราม, กรุงเทพมหานคร, นวพรรณ ภัทรมูล, ฉ่ำ ทองคำวรรณ, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3, จารึกในประเทศไทย เล่ม 5, อายุ-จารึก พ.ศ. 1859, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 19, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าอินทรชัยวรมัน, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีเขียว, ลักษณะ-จารึกบนเสาแปดเหลี่ยม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกวัดพระศรีรัตนศาสดาราม กรุงเทพมหานคร |
หน้าพระอุโบสถ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 1859 |
เขมร |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1024?lang=th |
2 |
จารึกวัดบางสนุก |
ไทยสุโขทัย |
คำขึ้นต้นของจารึกเป็นภาษาบาลี และภาษาไทย เป็นคำกล่าวนมัสการพระรัตนตรัย ต่อจากนั้นได้กล่าวถึงเมืองตรอกสลอบ ได้ชักชวนบรรดาลูกเจ้าขุนมูลนาย ไพร่ไทย ตลอดทั้งชาวแม่ชาวเจ้าทั้งหลาย สร้างพระพุทธรูปด้วยดีบุกด้วยดิน และได้กล่าวถึงการบำเพ็ญกุศลอื่นๆ อีก |
จารึกวัดบางสนุก, พร. 1, พร. 1, หลักที่ 107 ศิลาจารึกวัดบางสนุก, หลักที่ 107 ศิลาจารึกวัดบางสนุก, พ.ศ. 1882, พุทธศักราช 1882, พ.ศ. 1882, พุทธศักราช 1882, แผ่นหินชนวน, แผ่นหินดินดานสีเขียว, แผ่นรูปใบเสมา, จังหวัดแพร่, ไทย, สุโขทัย, พระอินทร์, เจ้าเมืองตรอกสลอบ, เจ้าพายสลอบชีพร, ชาวเจ้าขุน, มูนนาย, มูลนาย, ไพร่ไทย, ชาวแม่, ชาวเจ้า, แงซุน, พระช้าง, ม้า, วัว, โค, ควาย, กระบือ, พระพิมพ์ดิน พระพิมพ์ดีบุก (เหียก), พระธาตุ, พระงาสอง, ขันหมากทอง,จ้อง, ร่ม, ธง, กลอง, ขันข้าวตอกดอกไม้, เทียน, ธูป, จันทร์, น้ำมันหอม, ช้าง ม้า วัว ควาย, หมอนนอน, อ่าง, หินแลง, ปูน, กระยาทาน , หมอน, หมากเมือง, เมืองตรอกสลอบ, พุทธศาสนา, ศาลา, เถาะ, โถะ, ปีกัดเหม้า วันเมิงเป้า,พระศรีรัตนตรัย, บุญ, ธรรม, พุทธบูชา, ธรรมบูชา, สังฆบูชา, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย และดอกรัก พยัคศรี, ประสาร บุญประคอง และประเสริฐ ณ นคร, ศิลปากร, ประสาร บุญประคอง และประเสริฐ ณ นคร, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4, ประสาร บุญประคอง และประเสริฐ ณ นคร, จารึกสมัยสุโขทัย, โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนา, จารึกล้านนา ภาค 1 เล่ม 1, อายุ-จารึก พ.ศ. 1822, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 19, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวน, วัตถุ-จารึกบนหินชนวนสีเขียว,วัตถุ-จารึกบนหินดินดาน, ลักษณะ-จารึกใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในหอพระสมุดวชิรญาณ กรุงเทพมหานคร, ศาสนา-จารึกในพระพุทธศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-ประวัติศาสตร์เมืองตรอกสลอบ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระพุทธรูป, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม |
หอสมุดแห่งชาติ ท่าวาสุกรี ถนนสามเสน แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 1882 (โดยประมาณ) |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/241?lang=th |
3 |
จารึกพ่อขุนรามพล |
ไทยสุโขทัย,ขอมสุโขทัย |
เนื่องจากจารึกนี้ทั้ง 4 ด้านที่มีคำจารึกอยู่นั้น อยู่ในสภาพที่ตัวอักษรเลือนหายไปมาก จึงทำให้อ่านได้เพียงด้านเดียว จึงได้ข้อมูลที่ค่อนข้างกระท่อนกระแท่น แต่อย่างไรก็ตาม จากข้อมูลที่ได้ทำให้สันนิษฐานในชั้นต้นว่า พ่อขุนรามพลอาจเป็นองค์เดียวกันกับพระยาราม อนุชาของพระมหาธรรมราชาที่ 1 (พระยาลิไทย) (โปรดดู ศิลาจารึกหลักที่ 11) และพ่อขุนศรี อาจเป็นพระยางั่วนำถุมก็เป็นได้ อย่างไรก็ตาม ทั้งสองพระองค์อาจหมายถึงกษัตริย์คู่อื่นก็ได้เช่นกัน ทั้งนี้คงต้องพิจารณาจากรายละเอียดที่อาจอ่านได้เพิ่มเติมในโอกาสข้างหน้า เนื้อความเท่าที่อ่านได้กล่าวถึงประวัติของกษัตริย์สุโขทัยพระองค์หนึ่งพระนามว่า “พ่อขุนรามพล” ด้วยข้อความที่ไม่สมบูรณ์นัก จึงสันนิษฐานได้คร่าวๆ เพียงว่า ในปีระกา พ.ศ. 1888 พ่อขุนรามพลคงได้เป็นเจ้าเมืองศรีสัชนาลัยและสุโขทัยมาก่อน ต่อมามีพ่อขุนอีกพระองค์หนึ่งพระนามว่า พ่อขุนศรี อาจมาร่วมครองเมืองด้วย ต่อมาเมื่อพ่อขุนศรีสวรรคต เมืองจึงตกเป็นของพ่อขุนรามพลเพียงผู้เดียว พ่อขุนรามพลน่าจะมีพี่หรือน้องชายอีกพระองค์หนึ่ง ซึ่งต่อมาทั้งสองพระองค์ คงจะร่วมกันปกครองเมืองศรีสัชนาลัยและสุโขทัย โดยพ่อขุนรามพลไปครองเมืองศรีสัชนาลัย |
หลักที่ 285 จารึกพ่อขุนรามพล, หลักที่ 285 จารึกพ่อขุนรามพล, นฐ. 12, นฐ. 12, หินทรายหยาบสีเขียว, ทรงกระโจม, จังหวัดสุโขทัย, ไทย, สุโขทัย, พ่อขุนรามพล, พ่อขุนศรี, ขุนศรีมาริ, ขุนกว้าน, ทองนพคุณ, ไพฑูรย์, หน้าสือ, ศรีสัชนาลัย, สุโขทัย, ศรีสัชนาลัยสุโขทัย, เมืองศรีสัชนาไลย, การซ่อมแปลงพระธาตุ, วันเต่าสัน ศุกรพาร, ปีระกา, วันศุกร์, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ยอร์ช เซเดส์, คณะกรรมการพิจารณาและจัดพิมพ์เอกสารทางประวัติศาสตร์, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 1, เทิม มีเต็ม, ประเสริฐ ณ นคร, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 7, จารึกอักษรไทยสุโขทัย, จารึก พ.ศ. 1890-1900, จารึกพุทธศตวรรษที่ 19, จารึกภาษาไทย, จารึกสมัยสุโขทัย, จารึกบนหินทราย, จารึกทรงกระโจม, จารึกพบที่สุโขทัย, จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระปฐมเจดีย์, ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย, ประวัติศาสตร์เมืองศรีสัชนาลัย, กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย, กษัตริย์และผู้ครองเมืองศรีสัชนาลัย, พ่อขุนรามพล, พ่อขุนศรี, การสร้างพระธาตุ, การสร้างศิลาจารึก, ความเป็นอยู่และประเพณี, อายุ-จารึก พ.ศ. 1890-1900, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 19, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกทรงกระโจม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระปฐมเจดีย์, เรื่อง-ประวัติศาสตร์สุโขทัย, เรื่อง-ประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระธาตุ, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-สร้างศิลาจารึก, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย-พ่อขุนรามพล, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองเมืองศรีสัชนาลัย-พ่อขุนรามพล, บุคคล-พ่อขุนรามพล, บุคคล-พ่อขุนศรี |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระปฐมเจดีย์ ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม |
พุทธศักราช 1890-1900 |
บาลี,ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/45?lang=th |
4 |
จารึกพ่อขุนรามคำแหง |
ไทยสุโขทัย |
เรื่องที่มีในศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหงนี้แบ่งออกได้เป็นสามตอน ตอนที่ 1 ตั้งแต่บรรทัดที่ 1 ถึง 18 เป็นเรื่องพ่อขุนรามคำแหงเล่าประวัติของพระองค์ ตั้งแต่ประสูติจนได้เสวยราชสมบัติใช้คำว่า “กู” เป็นพื้น ตอนที่ 2 ไม่ได้ใช้คำว่า “กู” เลย ใช้คำว่า “พ่อขุนรามคำแหง” เล่าเรื่องประพฤติเหตุต่างๆ และธรรมเนียมในเมืองสุโขทัย เรื่องสร้างพระแท่นมนังศิลาเมื่อ ม.ศ. 1214 เรื่องสร้างพระธาตุเมืองศรีสัชนาลัย เมื่อ ม.ศ. 1207 และที่สุดเรื่องประดิษฐ์ตัวอักษรไทยขึ้นเมื่อ ม.ศ. 1205 ตอนที่ 3 ตั้งแต่ด้านที่ 4 บรรทัดที่ 12 ถึงบรรทัดสุดท้าย เข้าใจว่าได้จารึกภายหลังหลายปี เพราะตัวหนังสือไม่เหมือนกับตอนที่ 1 และที่ 2 คือตัวพยัญชนะลีบกว่าทั้งสระที่ใช้ก็ต่างกันบ้าง ตอนที่ 3 นี้ เป็นคำสรรเสริญ และยอพระเกียรติคุณของพ่อขุนรามคำแหง และกล่าวถึงอาณาเขตเมืองสุโขทัยที่แผ่ออกไปครั้งกระโน้น |
จารึกพ่อขุนรามคำแหง, สท. 1, สท. 1, หลักที่ 1 ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหง จังหวัดสุโขทัย, หลักที่ 1 ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหง จังหวัดสุโขทัย, พ.ศ. 1835, พุทธศักราช 1835, พ.ศ. 1835, พุทธศักราช 1835, ม.ศ. 1214, มหาศักราช 1214, ม.ศ. 1214, มหาศักราช 1214, พ.ศ. 1828, พุทธศักราช 1828, พ.ศ. 1828, พุทธศักราช 1828, ม.ศ. 1207, มหาศักราช 1207, ม.ศ. 1207, มหาศักราช 1207, พ.ศ. 1826, พุทธศักราช 1826, พ.ศ. 1826, พุทธศักราช 1826, ม.ศ. 1205, มหาศักราช 1205, ม.ศ. 1205, มหาศักราช 1205, หินทรายแป้งเนื้อละเอียด, หลักสี่เหลี่ยมด้านเท่าทรงกระโจม, ปราสาทเมืองเก่าสุโขทัย, จังหวัดสุโขทัย, ตำบลเมืองเก่า, ไทย, สุโขทัย, พ่อขุนศรีอินทราทิตย์, นางเสือง, บานเมือง, ขุนสามชน, พระรามคำแหง, พ่อขุนรามคำแหง, ปู่ครูนิสัยมุต, มหาเถรสังฆราช, กาว, ลาว, ไทย, ชาวอู, ชาวของ, ไพร่, ไพร่ฟ้าหน้าใส, ลูกเจ้าลูกขุน, ไพร่ฟ้าข้าไทย, ข้าเสือก, ข้าศึก, หัวรบหัวพุ่ง, แม่ทัพนายกอง, ไพร่ฟ้าหน้าปก, ปู่ครู, มหาเถร, สังฆราช, นักปราชญ์, อุบาสก, ท้าว, พระยา, ครูอาจารย์, ข้าเสีอ, หมากส้ม, หมากหวาน, หมากม่วง, หมากขาม, ไม้ตาล, เนื้อ, กวาง, ปลา, ช้าง, ช้างเผือก, ม้า, วัว, โค, รูจาครี, รูจาศรี, มาสเมือง, ทอง, เงือน, เงิน, ข้าว, เสื้อคำ, กะดิ่ง, กระดิ่ง, กลอง, พาด, พาทย์, พิณ, กระพัด, ลยาง, พนมเบี้ย, พนมหมาก, พนมดอกไม้, หมอนนั่งหมอนโนน, หมอนนอน, สิน, เมืองฉอด, เมืองสุโขทัย, อรัญญิก, เมืองศรีธรรมราช, ตลาดปสาน, เมืองศรีสัชนาลัยสุโขทัย, เมืองเชลียง, สรลวง, สระหลวง, สองแคว, ลุมบาจาย, สคา, เวียงจันทน์, เวียงคำ, คนที, พระบาง, แพรก, สุพรรณภูมิ, ราชบุรี, เพชรบุรี, หงสาวดี, เมืองแพร่, เมืองม่าน, เมืองพลัว, เมืองชวา, ฝั่งของ, น้ำโขง, ทะเลหลวง, น้ำโคก, ถ้ำพระราม, น้ำสำพาย, ถ้ำรัตนธาร, ทะเลสมุทร, ป่าหมาก, ป่าพลู, ป่าพร้าว, ป่าลาง, ป่าม่วง, ป่าขาม, เยียข้าว, ฉางข้าว, ตระพังโพยสี, น้ำโขง, อรัญญิก, หัวลาน, ปากประตูหลวง, ภูเขา, พุทธศาสนา, ตระพังโพยสี, ตรีบูร, พิหาร, วิหาร, กุฎีพิหาร, สรีดภงส์, ทำนบ, พระศรีรัตนธาตุ,ศาลาพระมาส, พุทธศาลา, พระธาตุ, พระเจดีย์, เวียงผา, กำแพงหิน, ปราสาท, กุฏิ, การคล้องช้าง, กรานกฐิน, เผาเทียนเล่นไฟ, การชนช้าง, บริพารกฐิน, ญัติกฐิน, การสวด, การบูชาพระธาตุ, การก่อพระเจดีย์, ไร่, นา, น้ำ, จกอบ, ภาษี, การค้าขาย, เหย้าเรือน, ประตู, ทาน, ศีล, บุญ, ธรรม, พรรษา, พระพุทธรูปทอง, พระไตรปิฎก, ปิฎกไตร, บ้าน, พระอัฏฐารศ, พระอจนะ, พระอัจนะ, พระขพุงผี, เทพดา, เทวดา, ปีมะโรง, มนังศิลาบาตร, ขดานหิน, เดือนดับ, เดือนออก, เดือนเต็ม, เดือนบ้าง, ปีกุน, พระธาตุ, ลายสือไทย, ปีมะแม, ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, ยอร์ช เซเดส์, ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 1, ยอร์ช เซเดส์, จารึกสมัยสุโขทัย, จารึกอักษรไทยสุโขทัย, จารึก พ.ศ. 1835, จารึกพุทธศตวรรษที่ 19, จารึกภาษาไทย, จารึกสมัยสุโขทัย, จารึกบนหินทรายแป้ง, จารึกบนหลักสี่เหลี่ยมทรงกระโจม, จารึกพบที่สุโขทัย, จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย, กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย, พ่อขุนรามคำแหง, ความเป็นอยู่และประเพณี, การสร้างพระแท่นมนังศิลา, การสร้างพระธาตุ, ประวัติศาสตร์เมืองศรีสัชนาลัย, การประดิษฐ์ตัวอักษร, การสร้างศิลาจารึก, อายุ-จารึก พ.ศ. 1835, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 19, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย, ยุคสมัย-จารึกสมัยสุโขทัย-พ่อขุนรามคำแหงมหาราช, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายแป้ง, ลักษณะ-จารึกทรงกระโจม, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างพระแท่นมนังศิลา, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างองค์พระธาตุ, เรื่อง-ประวัติศาสตร์สุโขทัย, เรื่อง-ประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย, เรื่อง-การประดิษฐ์ตัวอักษร, เรื่อง-ความเป็นอยู่และประเพณี-สร้างศิลาจารึก, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองกรุงสุโขทัย-พ่อขุนรามคำแหงมหาราช, บุคคล-พ่อขุนรามคำแหงมหาราช, มีภาพถ่ายความละเอียดสูง |
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
พุทธศักราช 1835 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/47?lang=th |
5 |
จารึกพระธาตุร้างบ้านแร่ |
ไทยน้อย |
ข้อความจารึกกล่าวถึงการอุทิศที่ดินให้แก่วัดของเจ้านายระดับพระยา และแสน ซึ่งเป็นหัวหน้าชุมชนในละแวกนั้น |
สน. 4, สน. 4, จารึกพระธาตุร้างบ้านแร่, พ.ศ. 1893, พุทธศักราช 1893, พ.ศ. 1893, พุทธศักราช 1893, จ.ศ. 712, จุลศักราช 712, จ.ศ. 712, จุลศักราช 712, รูปใบเสมา, สถานีอนามัยบ้านแร่ (วัดธาตุศรีบุญเรือง), ตำบลแร่, อำเภอพังโคน,จังหวัดสกลนคร, ไทย, ล้านช้าง, พระยากูมพัน, แสน, สมทิพย์, สมเด็จราชบุญลือ, คามเขต, พุทธศาสนา, ให้ทานพุทธเขต, อุทิศที่ดิน, ปีกดยี่, ปีกดยี, ยามแถใกล้รุ่ง, วงดวงชาตา, พระพุธ, ราศีกรกฎ, พระเสาร์, ราศีตุล, |
สถานีอนามัยบ้านแร่ (วัดธาตุศรีบุญเรือง) ตำบลแร่ อำเภอพังโคน จังหวัดสกลนคร |
พุทธศักราช 1893 |
ไทย |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2229?lang=th |