ชุดข้อมูลจารึก

The Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre

ชุดข้อมูลจารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ มหาวีรวงศ์

ชุดข้อมูลจารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ มหาวีรวงศ์

ชุดข้อมูลนี้ได้รวบรวมข้อมูลจารึกที่ถูกเก็บรักษาไว้พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติในจังหวัดต่างๆ เพื่อเป็นข้อมูลสำหรับสำรวจเบื้องต้นว่าพิพิธภัณฑสถานแห่งนี้มีจารึกอะไรบ้าง แต่ข้อมูลอาจจะไม่สมบูรณ์ครบถ้วน เนื่องด้วยข้อมูลจารึกที่ได้รับการอ่าน-แปลและเผยแพร่ในฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย มีน้อยกว่าจารึกที่เก็บรักษาไว้ในสถานที่จริง

เวลาที่โพส
โพสต์เมื่อวันที่ 31 พ.ค. 2565 16:54:44 ( อัพเดทเมื่อวันที่ 15 ก.ย. 2565 10:08:53 )
title type description subject spatial temporal language source.uri
1

จารึกพันดุง

หลังปัลลวะ

ข้อความจารึกสองบรรทัดแรกกล่าวถึง ความนอบน้อมต่อพระศิวะ อันเป็นที่เคารพสักการะของผู้นับถือศาสนาพราหมณ์ สองบรรทัดต่อไปกล่าวถึงท่านผู้เป็นปราชญ์ คงหมายถึงพระศรีวัตสะ เพราะมีการระบุนามอย่างชัดเจนในสองบรรทัดต่อไป ได้สร้างรูปพระหริหระประทับที่ภูเขาซึ่งมีกระแสน้ำไหลแรง คงหมายถึง ภูเขาที่มีน้ำตก ไว้ประจำอาศรม พร้อมเทวรูปอื่นๆ สองบรรทัดที่สาม พระศรีวัตสะได้ถวายวัตถุสิ่งของ เครื่องอุปโภคบริโภค ให้แก่อาศรม พร้อมทั้งมอบประชาชนจำนวนหนึ่ง ให้เป็นผู้ดูแลรับใช้ในอาศรมด้วย ในสองบรรทัดเดียวกันนี้ ได้กล่าวถึงเหล่าพระมุนีทั้งหลายได้สร้างอาศรมไว้ เพราะมีน้ำบริบูรณ์ ทั้งได้สร้างรูปพระสุคตไว้ในอาศรมตามความคิดของฤษี สองบรรทัดที่สี่กล่าวถึงพราหมณ์ศรีธีธรรมาตกะ และสวามีศรีศิญชระ ได้ฝึกฝนในการบำเพ็ญตบะและการเจริญโยคสมาธิ สองบรรทัดสุดท้ายซึ่งมีความสำคัญมาก จารึกได้กล่าวถึงการสร้างพระสุคตประติมา ไว้ในเมือง ข้อความต่อไปในบรรทัดเดียวกันนี้ อักษรจารึกชำรุดหายไป จึงไม่ทราบว่าใครเป็นผู้สร้างพระสุคตประติมา จะเป็นพระศรีวัตสะ พระมุนี พราหมณ์ศรีธีธรรมาตมกะ หรือสวามีศรีศิญชระ และในเมืองนี้ ก็มิอาจทราบได้ว่าเป็นเมืองอะไร เพราะอักษรชำรุดดังกล่าว บรรทัดสุดท้ายของจารึก ระบุวัน เดือน ปี ที่สร้างพระสุคตประติมาไว้ในเมือง ว่าเป็นวันเสาร์ เดือน 1 ขึ้น 8 ค่ำ ปีศักราช 751 (พ.ศ. 1372)

จารึกพันดุง, จารึกพระศรีวัตสะสร้างเทวรูป อักษรปัลลวะ ภาษาสันสกฤต, นม. 38, นม. 38, พ.ศ. 1372, ม.ศ. 751, พุทธศักราช 1372, มหาศักราช 751, พ.ศ. 1372, ม.ศ. 751, พุทธศักราช 1372, มหาศักราช 751, หินทรายสีแดง, รูปใบเสมา, บ้านพันดุง, ตำบลพันดุง, อำเภอขามทะเลสอ, จังหวัดนครราชสีมา, เจนละ, พระศิวะ, สุรสุรคุรเว, เทวะ, พระอาทิตย์, พระจันทร์, พระนางปารวตี, พระนางปารวดี, พระวิษณุ, พระมุนี, พระหริหระ, พระสุคตประติมา, พระราหู, นรชน, พระวัตสะ, สุพรหมฤษี, พราหมณ์, ศรีธีธรรมาตมกะ, สวามี, ศรีสิญชระ, โค, ช้าง, ม้า, ตรีศูล, ทองคำ, เครื่องอุปโภคบริโภค, พราหมณ์, ฮินดู, ปัญญา, ตปะ, ตบะ, โยค, สมาธิ, อาศรม, การสร้างเทวรูป, ที่ดิน, มนต์วิทยา, นวพรรณ ภัทรมูล, ชะเอม แก้วคล้าย, ศิลปากร, อายุ-จารึก พ.ศ. 1372, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 14, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 2, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, วัตถุ-จารึกบนหินทรายสีแดง, ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ มหาวีรวงศ์, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ลัทธิไศวนิกาย, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างเทวรูป, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายสิ่งของ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-สร้างอาศรม, บุคคล-พระศรีวัตสะ, บุคคล-พราหมณ์ศรีธีธรรมาตกะ, บุคคล-สวามีศรีศิญชระ

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ มหาวีรวงศ์ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา (บันทึกข้อมูลวันที่ 29/11/2563)

พุทธศักราช 1372

สันสกฤต

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/974?lang=th

2

จารึกปราสาทเมืองแขก 3

ขอมโบราณ

ข้อความเกือบทั้งหมดเป็นรายชื่อทาส ตอนท้ายมีรายการสิ่งของที่ถวาย

จารึกปราสาทเมืองแขก 3, จารึกปราสาทเมืองแขก 3, นม. 50, นม. 50, พ.ศ. 1517, ม.ศ. 896, พ.ศ. 1517, ม.ศ. 896, พุทธศักราช 1517, มหาศักราช 896, อายุ-จารึก พ.ศ. 1517, มหาศักราช 896ล หินทราย, แท่งสี่เหลี่ยม, ปราสาทเมืองแขก, อำเภอสูงเนิน, จังหวัดนครราชสีมา, บ้านกกกอก ตำบลโคราช, ขอมสมัยพระนคร, พระกัมรเตงอัญศิวลิงคะ, ไต, สิ, ประวัติ, รักขเนต, อยัก, เอียก, อัม, ปันทะ, ปัญ, สหะ, คฤส, เอมกัญไช, มูร, คาย, โส, ไส, กราม, สร, พรม, เอมกปุย, กัมปุย, ลาง, อัน, อันติส, รัต, เถลง, เทป, ทัน, สุท, จี, กันโล, มางควะ, ทัน, เทง, ชัน, ทิจ, ช้าง, เครื่องนุ่งห่ม, ข้าวเปลือก, ข้าวสุก, เกลือ, โค, วัว, กัลปนา, อาย-พ.ศ. 1517, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 16, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร-พระเจ้าชัยวรมันที่ 5, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนแท่งสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ มหาวีรวงศ์, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายสิ่งของ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-สถาปนาเทวรูป, ไม่มีรูป

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ มหาวีรวงศ์ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา (บันทึกข้อมูลวันที่ 29/11/2563)

พุทธศักราช 1517

เขมร

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1194?lang=th

3

จารึกปราสาทเมืองแขก 2

ขอมโบราณ

ข้อความทั้งหมดเป็นรายชื่อทาส

จารึกปราสาทเมืองแขก 2, จารึกปราสาทเมืองแขก 2, นม. 50, นม. 50, พ.ศ. 1517, ม.ศ. 896, พ.ศ. 1517, ม.ศ. 896, พุทธศักราช 1517, มหาศักราช 896, พุทธศักราช 1517, มหาศักราช 896, หินทราย, แท่งสี่เหลี่ยม, ปราสาทเมืองแขก, อำเภอสูงเนิน, จังหวัดนครราชสีมา, บ้านกกกอก ตำบลโคราช อำเภอสูงเนิน, ขอมสมัยพระนคร, พระกัมรเตงอัญศิวลิงคะ, ไต, สิ, อัจราณ, วัน, เหม, ปัญ, ธรรม, อิน, เนง, ปัทมะ, กาน, สี, ฤษี, เฉนง, นิต, ลัก, อยัก, ปติกลันวะ, กันธี, เง, ชะเนา, พฤก, บูร, วร, เนง, ปิต, เส, ทิจ, อัสชุ, โส, พรม, โปะ, โย, สวยัต, สหะ, เลง, จัมพุะ, อัป, ปราณ, ภัง, ลัส, ปิต, สรัษฏะ, เหง, อยัต, รักเขนต, กันวรัต, มัส, เสรษฐะ, โอชัตเชส, สัง, ภาช, อัง, สิก, วัท, วิกัญชา, โป, ลิป, ธูร, ขลัย, กะโรง, โส, ตรี, กัลปนา, พราหมณ์, ฮินดู, ไศวนิกาย, อายุ-จารึก พ.ศ. 1517, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 16, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนแท่งสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ มหาวีรวงศ์, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, ไม่มีรูป

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ มหาวีรวงศ์ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา (บันทึกข้อมูลวันที่ 29/11/2563)

พุทธศักราช 1517

เขมร

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1185?lang=th

4

จารึกปราสาทเมืองแขก 1

ขอมโบราณ

กล่าวถึงพระราชโองการของพระราชา ให้สถาปนาเทวรูปคือ กัมรเตงอัญศรีอสมานธฤตจันทรมเหศวร มรเตงอัญศรีอสมานธฤตจันทรสถามะ และพระแม่เจ้ากัมรเตงอัญศรีอสมานธฤตจันทรเทวี และหลังจากนั้นยังได้รวมพระกัมรเตงอัญแห่งลิงคปุระไว้ด้วย แล้วให้บรรดาขุนนางและข้าราชบริพาร ร่วมกันดูแลเทวรูปและเทวสถานเหล่านี้ โดยกัลปนาข้าทาสและสิ่งของ เช่น ข้าวสาร น้ำมัน ฯลฯ เป็นประจำ

จารึกปราสาทเมืองแขก 1, จารึกปราสาทเมืองแขก 1, นม. 50, นม. 50, พ.ศ. 1517, ม.ศ. 896, พ.ศ. 1517, ม.ศ. 896, พุทธศักราช 1517, มหาศักราช 896, พุทธศักราช 1517, มหาศักราช 896, พ.ศ. 1514, ม.ศ. 893, พ.ศ. 1514, ม.ศ. 893, พุทธศักราช 1514, มหาศักราช 893, พุทธศักราช 1514, มหาศักราช 893, หินทราย, แท่งสี่เหลี่ยม, ปราสาทเมืองแขก, อำเภอสูงเนิน, จังหวัดนครราชสีมา บ้านกกกอก ตำบลโคราช อำเภอสูงเนิน, ขอมสมัยพระนคร, พระกัมรเตงอัญศรีอสมานธฤตจันทรมเหศวร, พระกัมรเตงอัญศรีอสมานธฤตจันทรสถามะ, พระแม่เจ้ากัมรเตงอัญศรีอสมานธฤตจันทรเทวี, พระกัมรเตงอัญชคัตลิงคปุระ, พระบรมบพิตร, พระกัมรเตงอัญบรมบพิตร, กัมรเตงอัญพระสกลจตุราจารย์, กัมรเตงอัญพระคุรุ, เสตงอัญผู้เป็นใหญ่, กวิษัย, วิษัย, โขลญ, กัมรเตงอัญจตุราจารย์, น้ำมัน, ข้าวสาร, เสื้อผ้า, การสถาปนาเทวรูป, กัลปนา, สัมฤทธิปุระ, ตระลาว, พราหมณ์, ฮินดู, ไศวนิกาย, ธุลีพระบาทธุลีเชิง, วันพุธ, จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, อายุ-จารึก พ.ศ. 1517, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 16, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, วัตถุ-จารึกบนหิน, วัตถุ-จารึกบนหินทราย, ลักษณะ-จารึกบนแท่งสี่เหลี่ยม, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ มหาวีรวงศ์, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายสิ่งของ, เรื่อง-การบริจาคและการทำบุญ-ถวายข้าพระ, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-กัลปนา, เรื่อง-พิธีกรรมทางศาสนา-สถาปนาเทวรูป, บุคคล-กัมรเตงอัญศรีอสมานธฤตจันทรมเหศวร, บุคคล-มรเตงอัญศรีอสมานธฤตจันทรสถามะ, บุคคล-พระแม่เจ้ากัมรเตงอัญศรีอสมานธฤตจันทรเทวี, มีภาพถ่ายจากการสำรวจภาคสนาม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ มหาวีรวงศ์ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา (บันทึกข้อมูลวันที่ 29/11/2563)

พุทธศักราช 1517

เขมร

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/1177?lang=th

5

จารึกปราสาทหินพนมวัน 7

ขอมโบราณ

ด้านที่ 1 จารึกเป็นภาษาสันสกฤต ได้กล่าวว่า พระอาทิตย์บนท้องฟ้าแห่งนี้ เป็นต้นวงศ์ของศรีกัมพุช ด้านที่ 2 จารึกเป็นภาษาเขมร ได้บอกพระนามของพระเจ้าราเชนทรวรมันหรือพระบาทศิวโลก

จารึกปราสาทหินพนมวัน 7, จารึกปราสาทหินพนมวัน 7, นม. 6, นม. 6, ศิลา, ใบเสมา, ปราสาทหินพนมวัน, บ้านมะค่า, ตำบลบ้านโพธิ์, จังหวัดนครราชสีมา, ขอมสมัยพระนคร, พระเจ้าราเชนทรวรมันที่ 2, พระเจ้าราเชนทรวรมันที่ 2, พระราชวงศ์, ศรีกัมพุช, พระอาทิตย์, วันศุกร์, นวพรรณ ภัทรมูล, อำไพ คำโท, จารึกในประเทศไทย เล่ม 4, อายุ-จารึกพุทธศตวรรษที่ 16, ยุคสมัย-จารึกสมัยขอมพระนคร, วัตถุ-จารึกบนหิน,ลักษณะ-จารึกบนใบเสมา, ศาสนา-จารึกในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ที่อยู่ปัจจุบัน-จารึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ มหาวีรวงศ์, เรื่อง-ประวัติศาสตร์กัมพูชา, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร, บุคคล-กษัตริย์และผู้ครองอาณาจักรขอมสมัยพระนคร-พระเจ้าราเชนทรวรมัน, บุคคล-พระเจ้าราเชนทรวรมัน

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ มหาวีรวงศ์ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา (บันทึกข้อมูลวันที่ 29/11/2563)

พุทธศตวรรษ 16

สันสกฤต,เขมร

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/409?lang=th