Total : 57 pages , Total amount : 1,815 Records , Total amount : 2 Resources.
Advance Search
RBR_003_201-211 รวมกันอยู่ใน “เลขที่ ๔๗ กล่ำกาดำ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ ๑๑ ผูก” RBR_206-208 เป็นชุดเดียวกัน หน้าทับต้น ระบุ “※๚ หน้าทับเค้าหนังสือก่ำกาดำ ผูกถ้วน ๒ แลพิมพาขะนุ่นงิ้วแล ฯฯ๛” ท้ายลาน ระบุ “กิริยาอันกล่าวสังวรรณนาจาห้องค่าวนางพิมพาขะนุ่นงิ้ว มารอดผูกถ้วน ๒ อันอาจารย์เจ้าขอดเป็นโวหารตามนิทานกล่าวไว้ วิสัชนาคลองใคร่บอกคถา นิฏฺฐิตา ก็สมเร็จเสด็จแล้วเท่านี้ก่อนแล ฯฯ๛ เสด็จแล้วปีชวด เดือน ๗ แรม ๙ ค่ำ วัน ๕ ยามก่อนเพลแล ขอสุข ๓ ประการ นิพพานเป็นที่แล้วก่อนแล เอื้อยเสา สร้างไว้ในพระศาสนาพระพุทธเจ้าแห่งเราก่อนแลแล ฯฯ๛”
RBR_003_201-211 รวมกันอยู่ใน “เลขที่ ๔๗ กล่ำกาดำ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ ๑๑ ผูก” RBR_202-205 เป็นชุดเดียวกัน หน้าทับต้น ระบุ “หน้าทับเค้าก่ำกาดำ ผูก ๒ แลนานลอยพพฯ๛” ลานแรก ด้านซ้ายมือ ระบุ “ก่ำกาดำแล ผูก ๒ แล” ท้ายลาน ระบุ “กิริยาอันสังวรรณนาจาห้องค่าวนางพิมพาขะนุ่นงิ้วมารอดผูกถ้วน ๒ อันอาจารย์เจ้าขอดไว้เป็นโวหารตามนิทานกล่าวไว้วิสัชนาคลองไคบอกคาถา นิฏฺฐิตา ก็สมเร็จเสด็จแล้วเท่านี้ก่อนแล || หน้าทับปลายก่ำกาดำ ผูก๒ แลนายเหย รัสสภิกขุมา || อย่าติข้าเนอ ลางตัวก็หน้อย ลางตัวก็ใหญ่ บ่ดีสักน้อยเหมือนแมวกอยยาคันนา หาๆ โห เหวๆ ฯ๛ ฯ๛ ออ ฯ๛”
RBR_003_201-211 รวมกันอยู่ใน “เลขที่ 47 กล่ำกาดำ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ 11 ผูก” RBR_211-212 เป็นชุดเดียวกัน หน้าทับต้น ระบุ “พิมพานุ่นงิ้วผูก ๓ มี ๔ ผูกกับกันหนังสือวัดหนองบัวแล”, เขียนอักษรไทยด้วยปากกาเมจิกสีน้ำเงิน “กล่ำกาดำผูก ๓” ลานแรก ด้านซ้ายมือ ระบุ “พิมพานุ่นงิ้ว ผูก ๓ ” ท้ายลาน ระบุ “สังวรรณนายังพิมพาขะนุ่นงิ้วผูกถ้วน ๓ ก็สมเร็จเสด็จแล้วเท่านี้ก่อนแล ฯฯ๛ มี ๔ ผูกกับกัน
RBR_003_213-215 รวมกันอยู่ใน “เลขที่ 56 กล่ำกาดำ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับล่องชาด-ลานดิบ” พบเพียง ๓ ผูก หน้าทับต้น ระบุ “พิมพาขะนุ่นงิ้ว ผูกถ้วน ๓ แล มีกับกัน ๔ ผูก” เขียนอักษรไทยด้วยปากกาน้ำเงิน “ก่ำกาดำ มาจากบางกะโด” หน้ารอง หน้าทับต้น เขียนอักษรไทยด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “ก่ำกาดำ มาจากบางกะโด” ท้ายลาน ระบุ “สํวณฺณนา พิมฺพาชาตกํ กิริยาอันกล่าวแก้ไขยังพิมพาขะนุ่นงิ้วผูกถ้วน ๓ ก็สมเร็จแล้วเท่านี้ก่อนแล” / “ก็มีแลนายเหย กรุณาสัตตริจสา”
RBR_003_201-211 รวมกันอยู่ใน “เลขที่ ๔๗ กล่ำกาดำ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ ๑๑ ผูก” RBR_202-205 เป็นชุดเดียวกัน หน้าทับต้น ระบุ “หน้าทับเค้าก่ำกาดำผูก๓ แล” ท้ายลาน ระบุ “กิริยาอันกล่าวแก้ไขยังพิมพาขะนุ่นงิ้วผูกถ้วน ๓ ก็บังคมสมเร็จเสด็จแล้วเท่านี้ก่อนแล | รัสสภิกขุมา คั่งเต็มที เสียรักติดจอ__” หน้าทับปลาย ระบุ “หน้าทับปลายพิมพาขะนุ่นงิ้วผูก ๓ แล หน้าปลายก่ำกาดำบ่าวน้อยแลเมียเหย ฯ๛
RBR_003_201-211 รวมกันอยู่ใน “เลขที่ 47 กล่ำกาดำ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ 11 ผูก” RBR_206-208 เป็นชุดเดียวกัน หน้าทับต้น ระบุ “๚ หน้าทับเค้าหนังสือก่ำกาดำ ผูกถ้วน ๔ ปลายแล ฯฯ๛” ท้ายลาน ระบุ “กิริยาอันสังวรรณนาพิมพาขะนุ่นงิ้วชาตก มาเถิง จตุตฺถํ นิฏฺฐิตํ ก็สมเร็จเสด็จแล้วเท่านี้ก่อนแล ※๛ เสด็จแล้วยามเมื่อตาวันใสหน้าแล้งแล ปีชวด เดือน ๘ ขึ้น ๑ ค่ำ วัน ๑ แล ข้าแด่ สร้างธรรมพระเจ้าไว้ในพระศาสนาหื้อข้าสุข ๓ ประการมีนิพพานแด่ :๛” มีรอยแก้ไขด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน
RBR_003_201-211 รวมกันอยู่ใน “เลขที่ ๔๗ กล่ำกาดำ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ ๑๑ ผูก” RBR_206-208 เป็นชุดเดียวกัน หน้าทับต้น ระบุ “๚หน้าทับเค้าก่ำกาดำ ผูกต้นแลฯฯ๛” ท้ายลาน ระบุ “พิมฺพาสิมฺพลียํ ปตฺถมํ นิฏฺฐิตํ กิริยาสังวรรณนาพิมพาขะนุ่นงัวผูกต้น ก็บังคมสมเร็จแล้วเท่านี้ก่อนแล ฯฯ๛ เสด็จแล้ววัน ๕ เดือน ๗ แรม ๒ ค่ำ ปีชวดแล รัสสภิกขุธรรมสอนมีศรัทธาได้สร้างไว้ค้ำชูศาสนาพระพุทธเจ้า ข้าขอปรารถนาเอาสุข ๓ ประการ นิพพานเป็นที่แล้ว ฯ เอื้อยเสา มีศรัทธาปูชาเอาธรรมพระเจ้าอันนี้หื้อเป็นทานไว้กับศาสนาพระเจ้า”
RBR_003_201-211 รวมกันอยู่ใน “เลขที่ 47 กล่ำกาดำ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ 11 ผูก” RBR_209-210 เป็นชุดเดียวกัน ลานแรก ด้านซ้ายมือ ระบุ “ก่ำกาดำ ผูกต้นแล” ท้ายลาน ระบุ “พิมฺพา สิมฺพลียํ ปตฺถมํ นิฏฺฐิตํ กิริยาอันสังวรรณนา พิมพาขะนุ่นงิ้วผูกต้น ก็แล้วเท่านี้ก่อนแลแล ฯ ฯ ฯ ๛๛ บริบูรณ์เสด็จแล้ว บ่าย ๒ โมง ปีมะเส็ง เดือนสิบเอ็ด แรมค่ำ ๑ วันเสาร์ ศักราชได้ ๒ พัน ๔ ร้อย ๔ สิบ ๘ วัสสา (ตรงกับวันเสาร์ที่ 14 แรม 1 ค่ำ เดือนตุลาคม พ.ศ. 2448 ปีมะเส็ง)ฯ บ่งามสักหน้อยแลเจ้าเหย พอเป็นถ้อยอยู่ ใบลานบุคคลผู้ใดได้เล่าได้เทศนาพิจารณาดูหื้อถี่ฯ เทอะตกที่ไหนใส่หื้อจิ่มเทอะ ทุพี่เหย ข้าขอสุข ๓ ประการ นิพพานที่แล้วเทอะ นิจฺจํ ธุวํ แลฯ อย่าไปใคร่หัวขวัญข้อยเนอ ทุพี่ เพราะ ฯ ตั้งใจเอาบุญกับกัน อย่าไปใค่หัวขวัญข้าแท้ใด ขัดบ่ได้ ฯ”
RBR_003_201-211 รวมกันอยู่ใน “เลขที่ 47 กล่ำกาดำ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ 11 ผูก” RBR_211-212 อาจเป็นชุดเดียวกัน หน้าทับต้น ระบุ “๏ หน้าทับเค้าพิมพาขะนุ่นงิ้วผูกต้นแลนายเหยม่วนอาละ ฯฯ๛” และเขียนอักษรไทยด้วยปากกาสีน้ำเงิน “กล่ำกาดำผูก ๑” ลานแรก ด้านซ้ายมือ ระบุ “พิมพานุ่นงิ้วผูกต้นแล หนองบัว” ท้ายลาน ระบุ “พิมฺพาสิมฺพลียํ ปฐม กิริยาอันสังวรรณนายังพิมพาขะนุ่นงิ้วผูกต้น ก็แล้วเท่านี้ก่อนแล ๛ บริบูรณ์เสด็จแล้วปีจอ ยอซกตกอยู่ในระดูเดือนสิบเบ็ด ขึ้น ๕ ค่ำ พร่ำว่าได้วันเสาร์แล นายเหย รัสสภิกขุธอง บ้านใหญ่ปาน เพราะว่าอยากได้กุศลนาบุญเต็มที ขอหื้อได้เหมือนคำนึกคำปรารถนาแด่เทอะ เขียนบ่งามสักน้อย ตัวที่ใหญ่ก็ใหญ่ ที่น้อยก็น้อย ที่ตกก็ตก คันว่าผู้ใดได้เราได้อ่านก็พิจารณาดูหื้อถี่เทอะ เพราะบ่เคยเขียน หัดเขียนใหม่แลนายเหย อย่าไปด่าข้าเนอ เพราะใคร่ได้คำแก้เปรสนาปัญหาเหมือนดังพิมพาขะนุ่นงิ้วบอกปัญหาหื้อเจ้าก่ำกาดำนั้นแลนายเหย ๛ มี ๔ ผูกกับกันแลนายเหย
RBR_003_213-215 รวมกันอยู่ใน “เลขที่ 56 กล่ำกาดำ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับล่องชาด-ลานดิบ” พบเพียง ๓ ผูก หน้าทับต้น ระบุ “๏ หน้าทับเค้าก่ำกาดำผูกต้นแลนายเหย พีสี รัสสภิกขุพรหมสอนอยู่บ้านหล่ายหนองเขียนหนังสือผูกนี้ขอหื้อค้ำชูศาสนาต่อเท่าพระอริยะ” / เขียนอักษรไทยด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “กล่ำกาดำผูก๑” ลานแรก ด้าน“พิมพานุ่นงิ้วผูกต้น” ท้ายลาน ระบุ “พิมฺพาสิมฺพลียํ ปฐมํ นิฏฺฐิตํ กิริยาสังวรรณนาพิมพาขะนุ่นงิ้วผูกต้น ก็บังคมสมเร็จเสด็จแล้วเท่านี้ก่อนแล๛” มีรอยแก้ไขด้วยดินสอดำ
RBR_003_213-215 รวมกันอยู่ใน “เลขที่ ๕๖ กล่ำกาดำ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับล่องชาด-ลานดิบ” พบเพียง ๓ ผูก หน้าทับต้น ระบุ “กาก ๏ พิมพานุ่นงิ้วผูกต้นแล๛” / เขียนอักษรไทยด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “ก่ำกาดำผูกที่ ๑” / ด้านหลัง ระบุ “ทุพี่ กขคฅงจสชซยตถทธนปผพภม” หน้ารอง หน้าทับต้น ระบุ “หน้าทับเค้าหนังสือก่ำกาดำแลนายเหย รัสสภิกขุธอง บานไลยหนา ๓ นายท่านทั้งหลาย” / ลานแรก ด้านซ้ายมือ ระบุ “ก่ำกาดำผูกต้นแล” ท้ายลาน ระบุ “พิมฺพาสิมฺพลียํ ปฐมํ นิฏฺฐตํ กิริยาสังวรรณนาพิมพาขะนุ่นงิ้วผูกต้น ก็บังคมสมเร็จเสด็จแล้วเท่านี้ก่อนแล ๛ เขียนพิมพาขะนุ่นงิ้วผูกต้น ๛ แล้ววันเสาร์ ยามใกล้ค่ำแลนายเหย ๛ รัสสภิกขุภิกขุธอง เขียนหนังสือผูกนี้ ขอส่วนบุญไปรอดไปเถิงบิดามารดาข้าจิ่มเทอะ กับตัวข้าจิ่มเทอะ กับครูบาอาจารย์ข้าจิ่มเทอะ ๛ จบ ธุวํ ธุวํ แล แล แล แล แล ฐ ฐ ฐ ฐ ๓ ๓ ๓” และ “ข้าเกิดมาชาติใดแส็นใด ขอหื้อมีสติปัญ[ญา]คุชาติเทอะ ๛”
RBR_003_201-211 รวมกันอยู่ใน “เลขที่ ๔๗ กล่ำกาดำ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ ๑๑ ผูก” RBR_202-205 เป็นชุดเดียวกัน หน้าทับต้น ระบุ “หน้าทับเค้าก่ำกาดำผูกต้นแล” ลานหน้า ซ. ระบุ “ทุพี่มา อีใสเพิ่นเอาไปกินแล้ว” ท้ายลาน ระบุ “พิมฺพาสิมฺพลี ยัง วุตถมํ นิฏฺฐิตํ กิริยาสังวรรณนามพิมพาขะนุ่นงิ้วผูกต้นก็บังคมสมเร็จเสด็จแล้วเท่านี้ก่อนแล จบเท่านี้ก่อนแล รัสสภิกขุมา เขียนบ่งามสักน้อย เหมือนปูน้อยยาดคันนาแล หน้าทับปลายพิมพาขะนุ่นงิ้วนุ่งซิ่นแส้วไหมคำ หน้าปลายอ้ายก่ำกาดำแล / กอ a b c d e ส f g h I j k l M N O P หน้าทับเค้าก่ำกาดำ ผูกต้น ทุพี่มาเขียนปางเมื่ออยู่วัดดอนแจง เพราะคึดฮอดอี่ใสกับทั้งอีนาเต็มที ได้อู้กันไว้ เพิ่นเอาไปกินเสียหมดแล้ว ทุพี่มาลงนั่งไห้นอนไห้ เพราะว่า ตัวแม่ได้อู้กัน เสียอกเสียใจ ลงนั่งไห้นอนไห้ ดังXX( ) บ่ฉันข้าวได้ ๗ วัน” (อักษรที่ขีดเส้นใต้-อักษรขอมไทย) มีรอยแก้ไขด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงินและดินสอดำ
RBR_003_201-211 รวมกันอยู่ใน “เลขที่ ๔๗ กล่ำกาดำ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ ๑๑ ผูก” RBR_202-205 เป็นชุดเดียวกัน หน้าทับต้น ระบุ “หน้าทับเค้าก่ำกาดำผูกปลายแล ๒๐ ลานใน ฯะ๛ ใบลานกับ ๑ บ่หันดีสักใบได้ พร่องก็ผุ พร่องก็เหนียว เขียนปางเมื่อบวชอยู่วัดดอนแจง บวชได้พระวัสสาเดียว รัสสภิกขุมาแล บ่ดีอยากใคร่สิกข์เต็มที สิกข์บ่ได้ เพราะว่าอายุบ่สม ฯะ๛” ท้ายลาน ระบุ “กิริยาอันสังวรรณนา พิมพาขะนุ่นงิ้วชาตกํ มาเถิง จตุตฺถํ นิฏฺฐิตํ ก็สมเร็จเสด็จแล้วเท่านี้ก่อนแล ฯะ รัสสภิกขุมา เขียนก่ำกาดำผูกปลาย ขอกุศลนาบุญ ๓ ประการ มีนิพพานเป็นที่แล้ว บ่ดี สักน้อย เหมือนปู ยาดนา แล ฯะ ฯ เพราะว่าหันน้อย หลอยกรายมาตักน้ำที่สระใหญ่ ใจพี่จิตทวย กับหญิงรามสาวน้อย ฯะ๛ ตัวแม่นาย ชู่เชื้อตัว แม่เนื้อน้อย คิงคายชาย ทุพี่นี้ มันบ่เลาไหน หลายแก่มัว เมารักนาย ตัวคายกลิ่น ชู้จะหลอน ฯ พี่ได้หนันตาวันลงคลาดคล้อยและ อย่าติเตียนข้าเนอแลแล บุญท้าวปันเนืองนองสมบัติกองโกฏิบ่ไร้โหดเสวยสุข บ่มีคำทุกข์สัก อย่าไพร่อย่าราช ชื่นใจชม ปางเมื่อพระอุดมตนผันแผ้วเสวยราชแล้วชอบคองธรรม”
RBR_003_201-211 รวมกันอยู่ใน “เลขที่ 47 กล่ำกาดำ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ 11 ผูก” RBR_209-2010 เป็นชุดเดียวกัน หน้าทับต้น เขียนอักษรไทยด้วยปากกาลูกลื่นสีแดง “กำกาดำผูกปาย”, เขียนอักษรไทยด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “เขียนจบเมื่อบ่าย ๒ โมง ปีมะเสง เดือน ๑๑ ขึ้น ๙ ค่ำ วันเสาร์ ศักราชได้ ๒๔๔๘ พรรษา” หน้ารอง หน้าทับ เขียนอักษรไทยด้วยดินสอดำ “นายทองบ้านหนองขามเรียนที ๑ แล้ว ๚ เข้าโรงเรียนอยู่ชั้นป ๑” ท้ายลาน ระบุ “กิริยาอันสังวรรณนา พิมพาขะนุ่นงิ้วชาตก มาเถิง จุตฺตถํ นิฏฺฐิตํ ก็สมเร็จเสด็จแล้วเท่านี้ก่อนแล๛ บริบูรณ์เสด็จแล้ว บ่าย ๒ โมง ปีมะเส็ง เดือน สิบเอ็ด ขึ้น ๙ ค่ำ พร่ำวันเสาร์ ปางเมื่อ ศักราชได้ ๒ พัน ๔ ร้อย ๔ สิบ ๘ วัสสา (ตรงกับวันเสาร์ที่ 7 ขึ้น 9 ค่ำ เดือนตุลาคม พ.ศ. 2448 ปีมะเส็ง) ยังมีศรัทธาคุณตัวะหาได้ยังใบลานมาหื้อข้าน้อยผู้ชื่อว่า รัสสภิกขุธรรมสอน เขียนปางเมื่ออยู่วัดบ้านกุด เพื่อจักสร้างไว้ค้ำชูศาสนา ๕ พันวัสสา โคตมเจ้าเตชะ ข้าได้เขียนหื้อปัญญาเหมือนเจ้ามโหสถ ขอหื้อข้าได้เถิงโสดาสกิทาคา อนาคา อรหันตาเจ้า เข้าสู่นิพพานเป็นที่แล้วเทอะ นิพฺพาน ปจฺจโย โหตุ เม นิจฺจํ ธุวํ แด่เทอะ ฯ บ่งามไหน หลายเป็นตาดีอายเพิ่นแท้เด ตัวใหญ่ก็ใหญ่ ตัวน้อยก็น้อย เหมือนแย้น้อยเขี่ยเถ้าหนทาง บ่เคยสักคำเทื่อแลเจ้าเหย อยากได้บุญเต็มที ตกที่ใดใส่หื้อจิ่มเทอะ ทุพี่พระพี่เหย ดูหื้อถี่เทอะ อย่าไปใคร่หัวขวัญข้าเนอ อย่าไปเหอะข้าเนอ ใจข้าบ่ดี สติบ่ตั้ง เป็นตาดีอาย ทุพี่ ตัวะ แท้เด ทุพี่ ตัวะ เหย ไปใคร่หัวขวัญเนอ ๛” มีรอยแก้ไขด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงินและดินสอดำ
วรรณกรรมชาดก เวสสันดร ผูก 9 ตอน กุมาร
เวสสันดรชาดก กัณฑ์กุมาร บั้นต้น
ทะเบียนของหอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ คือ (23) สบ. 23.1.4/58 นายทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ได้มอบให้หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติเก็บรักษา
หน้าปลาย ระบุ “หน้าทับเค้าหนังสือ ıı ไก่น้อยแลนา แลนา นายเหย”, “จบแล้วเดือน ๖ ขึ้นแปดค่ำ ıı จบแล้ว เจริญ”, “หน้าต้นหนังสือไก่น้อย นายอ้าย อยู่ตำบลบ้านตะโก เป็นผู้ตั้งต้น” / เขียนอักษรไทย ด้วยปากกลูกลื่นสีน้ำเงิน “ไก่น้อย”
หน้าต้น ระบุ “ฯ หน้าทับเค้า ขันธนาม ผูกต้นนิมนต์ทุพี่ทุอาวองค์ใดได้เล่าได้เรียน ค่อยพิจารณาดูเทอะ แล้วขออภัยโทษทุกองค์ นิมนต์ช่วยถนี่ถนอมชักสายสยองอย่างหนึ่งช่วยเก็บไว้จิ่ม ผมได้หันมานักแล้ว ผู้ดีก็ดีเหลือล้น ผู้ชั่วก็ขี้บ่ปานแลนา ” / เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “ขันธนู ผูก ๑” ท้ายลาน ระบุ “กริยาอันกล่าวห้องขันธนาม ผูกต้น ก็แล้วเท่านี้ก่อนแล ฯะ เสด็จแล้วยามตาวันบ่าย ๓ โมงกว่า ฯะ ปีมะเมีย เดือน ๘ แรม ๘ ค่ำ พร่ำว่าได้วันอาทิตย์แลนา ยังมีศรัทธาโยมหลวงอิ่มเป็นเจ้าใบลาน ฯ ยังมีศรัทธารัสสภิกขุปุย วัดนาหนอง ไปนำเอามายังหนังสือลาวมาแต่กวงลาด มาคัดออกไว้ยังเป็นลาวกึ่งยวนกึ่งบ่สู้ชัดเจนแท้ดีหลาย ฯ แล ยังมีศรัทธารัสสภิกขุทำ บ้านหัวนาไปนำเอามาจากวัดท่งหญ้าคมบาง เพราะว่ามาจำพรรษาอยู่กับทุอาวบุตรวัดบ้านโค้งดอย เพราะว่าได้สอบซ่อมกับเพิ่น ข้าก็บ่แตกฉาน ฯ แท้ ปัญญาก็หน้อยแลนา คันว่า ตกบ่ใคร่เพราะ แล้วช่วยเพิ่มเติมหื้อจิ่มเนอ ๚ ข้ามีศรัทธาสร้างจิ่ม เขียนจิ่ม พร้อมไปด้วยญาติโยมพี่น้องชู่ผู้ชู่ตน ขอสุข ๓ ประการ มีนิพพานเป็นยอดเขาะขอดเสี้ยงทุกอันเทอญ ฯะ ศาสนาล่วงไปได้ ๒ พัน ๔ ร้อย ๖ สิบ ๒ พระวัสสา” (ตัวเอียง จารไว้ขอบด้านขวาของหน้าลาน) หน้าปลาย เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาเมจิกสีน้ำเงิน “ผูกต้น ผูกต้น มี ๗ ผูก”
RBR_003_305-311 รวมอยู่ใน “เลขที่ ๓๔ ขันธนู ผูก ๑ – ๗ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ ๗ ผูก” หน้าต้น ระบุ “ฯ หน้าทับเค้า ขันธนาม ผูก ๒ คันว่า ทุพี่ทุอาวองค์ใดได้เล่าได้เรียน ค่อยพิจารณาดูเทอะ แล้วขออภัยโทษทุกองค์ ค่อยถนี่ถนอมเก็บไว้หื้อดีจิ่มเนอ ผมได้หันมานักแล้ว ผู้ดีก็ดีเหลือล้น ผู้ชั่วก็ขี้บ่ปานแลนา นิพฺพาน ปจฺจโย โหตุ เม อนาคเต กาเลน ธุวํ ธุวํ ฯะ ” / เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “ขันธนู ผูก ๒”
หน้าต้น ระบุ “ฯ หน้าต้น ขันธนาม ผูก ๓ คันว่า ทุพี่ทุอาวองค์ใดได้เล่าได้เรียน นิมนต์ค่อยพิจารณาดูเทอะ แล้วขออภัยโทษทุกองค์ ช่วยตระนี่ตระหนอมเก็บไว้หื้อดีจิ่มเนอ ทุพี่ทุอาวเอย ผมได้หันมานัก คำเดียวผู้ดีก็ดีเหลือล้น ผู้ชั่วขี้บ่ปานแลนา นิพฺพาน ปจฺจโย โหตุ เม ธุวํ ธุวํ แก่ข้าแด่เทอะ ข้าเขียนบ่งาม ฯ ” / เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “ขันธนู ผูก ๓” ท้ายลาน ระบุ “กล่าวห้อง ขันธนโพธิสัตว์เจ้า ผูกถ้วน ๓ ก็แล้วเป็นห้องเท่านี้ก่อนแล ฯ จตฺตาโร ธมฺมา วฑฺฒนฺติ อายุ วณฺโณ สขํ พลํ นิพฺพาน ปจฺจโย โหตุ เม อนาคเต กาเล ฯะ๛ รัสสภิกขุจันทสุวรรณ อยู่บ้านหัวนา มีศรัทธาสร้างเมื่อ ฯ ศักราชล่วงได้สองพันสี่ร้อยหกสิบสองแลนา ฯะ๛”
RBR_003_305-311 รวมอยู่ใน “เลขที่ ๓๔ ขันธนู ผูก ๑ – ๗ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ ๗ ผูก” หน้าต้น ระบุ “ธมฺมฑำอีแภฺ่น ฯ หน้าต้น ขันธนาม ผูก ๔ คันว่า ทุพี่ทุอาวองค์ใดได้เล่าได้เรียน นิมนต์ค่อยพิจารณาดูเทอะ แล้วขออภัยโทษทุกองค์ ช่วยตระนี่ตระหนอมเก็บไว้หื้อดีจิ่มเนอ ทุพี่ทุอาวเอย ผมได้หันมานัก คำเดียว ผู้ดีก็ดีเหลือล้น ผู้ชั่วขี้บ่ปานแลนา นิพฺพาน ปจฺจโย โหตุ เม ธุวํ ธุวํ แก่ข้าแด่เทอะ ข้าเขียนบ่งาม ฯ ” / เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “ขันธนู ผูก ๔” ท้ายลาน ระบุ “กริยาอันกล่าวห้อง ขัทธนาม ผูกถ้วน ๔ ก็แล้วเท่านี้ก่อนแล ๚ะ จตฺตาโร ธมฺมา วฑฺฒนฺติ อายุ วณฺโณ สุขํ พลนฺติ นิพฺพาน ปจฺจโย โหตุ เม อนาคเต กาเล ฯฯะ๛ ศักราชล่วงไปได้ สองพันสี่ร้อยหกสิบสอง ฯ ปีมะแม เดือน ๙ แรมสิบค่ำ วันพะหัส ฯฯ” หน้าปลาย ระบุ “หน้าต้น ขันธนแลนายเหยท่านทั้งหลาย”
RBR_003_305-311 รวมอยู่ใน “เลขที่ ๓๔ ขันธนู ผูก ๑ – ๗ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ ๗ ผูก” หน้าต้น ระบุ “ฯ หน้าต้น ขันธนาม ผูก ๕ คันว่า ทุพี่ทุอาวองค์ใดได้เล่าได้เรียน นิมนต์ค่อยพิจารณาดูเทอะ แล้วผมขออภัยโทษทุกพระองค์ ช่วยตระนี่ตระหนอมเก็บไว้หื้อดีจิ่มเนอ ทุพี่ทุอาวเอย ผมได้หันมานักแล้ว ผู้ดีก็ดีเหลือล้น ผู้ชั่วขี้บ่ปานแลนายเหย ขอสุข ๓ ประการ มีนิพพานเป็นที่แล ธุวํ ธุวํ อนิจฺจํ อนตฺตา แก่ข้าแด่เทอะ” / เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “ขันธนู ผูก ๕” และปากกาเมจิกสีเขียว “จำไว้แน” ท้ายลาน ระบุ “กริยาอันกล่าวขัทธนาม ผูกถ้วน ๕ ก็แล้วเท่านี้ก่อนแล ฯะ๛ จตฺตาโร ธมฺมา วฑฺฒนฺติ อายุ วณฺโณ สุขํ พลํ นิพฺพาน ปจฺจยฺโย โหตุ เม ı ปีมะแม เดือน ๑๐ ขึ้น ๓ ค่ำ วันภะหัส แลนา ฯฯ
RBR_003_305-311 รวมอยู่ใน “เลขที่ ๓๔ ขันธนู ผูก ๑ – ๗ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ ๗ ผูก” หน้าต้น ระบุ “ฯ หน้าต้น ขันธนาม ผูก ๖ คันว่า ทุพี่ทุอาวองค์ใดได้เล่าได้เรียน นิมนต์ค่อยพิจารณาดูเทอะ แล้วขออภัยโทษทุกพระองค์ ช่วยตระนี่ตระหนอมเก็บไว้หื้อดีจิ่มเนอ ทุพี่ทุอาวเอย ผมได้หันมานักแล้ว ผู้ดีก็ดีเหลือล้น ผู้ชั่วก็ขี้บ่ปานแลนานายเหย ขอสุข ๓ ประการ มีนิพพานเป็นที่แล้ว ธุวํ ธุวํ แก่ข้าแด่เทอะ บ่ดีสักหน่อยเหมือนปูยาด ฯ” / เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “ขันธนู ผูก ๖” ท้ายลาน ระบุ “กริยาอันกล่าวห้อง ขันธนาม ผูกถ้วน ๖ ก็แล้วเท่านี้ ฯ ก่อนแแล แล แล ฯะ นิพฺพาน ปจฺจโย โหตุ เม ฯ อย่าไปด่าข้าเนอ เพราะว่าใจบ่ดี ใบลานก็บ่ใคร่ดีบ่พอแลนา ฯ”
RBR_003_305-311 รวมอยู่ใน “เลขที่ ๓๔ ขันธนู ผูก ๑ – ๗ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ ๗ ผูก” หน้าก่อนหน้าต้น เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาเมจิกสีน้ำเงิน “ขันธนู ผูก ๗” หน้าต้น ระบุ “ฯ หน้าต้น ขันธนาม ผูก ๗ คันว่า ทุพี่ทุอาวองค์ใดได้เล่าได้เรียน ค่อยพิจารณาดูเทอะ แล้วขออภัยโทษทุกพระองค์ ช่วยตระนี่ตระหนอมเก็บไว้หื้อดีจิ่มเนอ ทุพี่ทุอาวเอย ผมได้หันมานักแล้ว ผู้ดีก็ดีเหลือล้น ผู้ชั่วก็ขี้บ่ปานแลนานายเหย โอ นิพฺพาน ปจฺจโย โหตุ เม อนาคเต กาเลน ฯฯะ๛” / เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “ขันธนู ผูก ๗” / เขียนอักษรไทย ด้วยดินสอ “ไม่มีใครจะมาเอาไปให้แก่อะธิบาย” ท้ายลาน ระบุ “ขัทธนชาตกํ นิฏฺฐิตํ ก็สมเร็จเสด็จแล้วบรมวลควรกาลเท่านี้ก่อนแล ฯฯะ จบ ฯฯะ โอ้โห้ จบแล้วแหน่ ฯ จบยามเมื่อฬกาตีห้าโมงค่ำ พร่ำว่าได้วันเสาร์ เดือน ๑๐ แหม ๑๑ ปีมะแม พุทธศักราชล่วงไปได้สองพันสี่ร้อยหกสิบสอง เขียนปางเมื่อมาจำพรรษาอยู่วัดเขาลอยมูลโค ı รัสสภิกขุปุย ไปนำเอาหนังสือลาวมาแต่วัดกวงลาด มาคัดไว้เป็นคำยวนแล้วยังมีศรัทธาทำไปนำเอามาแต่วัดท่งหญ้าคมบางมาม้างไว้ในพระศาสนา ๕ พันวัสสา พร้อมไปด้วยโยมทัง ๒ คือว่า พี่น้องชู่ผู้ชู่คน ข้าผู้เขียน ชื่อว่า จันทสุวรรณ ทำ อยู่บ้านหัวนา ı ขอสุข ๓ ประการ นิพพานเป็นที่แล้ว กับเจ้าของใบลานโยมหลวงอิ่มได้หกผูก ผูก ๗ นี้ ของทุอาวบุตรเพิ่น นิพฺพาน ปจฺจโย โหตุ เม ฯ เขียนบ่ดีสักน้อยเหมือนปูยาดคันนา”