จารึก

The Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre

จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีเกิด 4

จารึก

จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีเกิด 4 ด้านที่ 1

QR-code edit Share on Facebook

เวลาที่โพส โพสต์เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2564 เวลา 03:53:13

ชื่อจารึก

จารึกฐานพระพุทธรูปวัดศรีเกิด 4

ชื่อจารึกแบบอื่นๆ

209 วัดศรีเกิด, ชม. 129

อักษรที่มีในจารึก

ธรรมล้านนา

ศักราช

พุทธศักราช 2467

ภาษา

ไทย

ด้าน/บรรทัด

มีอักษรจารึก 2 บรรทัด รอบฐานพระพุทธรูป

ผู้อ่าน

ฮันส์ เพนธ์ (พ.ศ. 2519)

ผู้แปล

ฮันส์ เพนธ์ (พ.ศ. 2519)

ผู้ตรวจ

คณะกรรมการจัดพิมพ์เอกสารทางประวัติศาสตร์ สำนักนายกรัฐมนตรี (พ.ศ. 2519)

เชิงอรรถอธิบาย

1. ฮันส์  เพนธ์ : “พระพุทธศักราช 2476” ควรเป็น 2467
2. พันธุ์ทิพย์  ธีระเนตร : “ไจ้” หมายถึง ปีชวด
3. ฮันส์  เพนธ์ : “เม็ง” คือ  มอญ ในที่นี้หมายถึง การนับตามแบบมอญ
4. พันธุ์ทิพย์  ธีระเนตร : “เต่ายี” เป็นชื่อวันไทยโบราณซึ่งหนึ่งรอบมี 60 วัน
5. พันธุ์ทิพย์  ธีระเนตร : “เถิง” = ถึง
6. ฮันส์  เพนธ์ : “เพ็ง” = เพ็ญ
7. ฮันส์  เพนธ์ : “เม็ง” คือ มอญ ในที่นี้หมายถึง การนับตามแบบมอญ
8. ฮันส์  เพนธ์ : “วัน 7” คือวันเสาร์
9. พันธุ์ทิพย์  ธีระเนตร : “เต่าเส็ด” เป็นชื่อวันไทยโบราณซึ่งหนึ่งรอบมี 60 วัน
10. ฮันส์  เพนธ์ : ตามที่เขียนไว้ที่หน้าจั่ว อุโบสถหลังนี้สร้างเมื่อ พ.ศ. 2466
11. ฮันส์  เพนธ์ : “พระพุทธรูปเจ้าองค์นี้มีน้ำหนัก………….หมื่น” พระครูขันตยาภรณ์ เจ้าอาวาส กล่าวว่าพระพุทธรูปหนักเท่ากับน้ำหนักตัวนางคำใส แต่ย่งฮวด เป็นผู้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้
12. พันธุ์ทิพย์  ธีระเนตร : “ชู่” หมายถึง ทุก เช่น “ชู่คน” คือ ทุกคน
13. พันธุ์ทิพย์  ธีระเนตร : ในส่วนของคำจารึก ไม่สามารถใส่สัญลักษณ์ เช่นจุดใต้พยัญชนะหรือสระได้ครบทุกตำแหน่ง เนื่องจากไม่มีภาพอักษรจารึก