จารึก

The Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre

จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหัวข่วง 2

จารึก

จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหัวข่วง 2 ด้านที่ 1

QR-code edit Share on Facebook

เวลาที่โพส โพสต์เมื่อวันที่ 13 สิงหาคม 2564 เวลา 18:21:44

ชื่อจารึก

จารึกฐานพระพุทธรูปวัดหัวข่วง 2

ชื่อจารึกแบบอื่นๆ

114 วัดหัวข่วง, ชม. 111

อักษรที่มีในจารึก

ธรรมล้านนา

ศักราช

พุทธศักราช 2419

ภาษา

ไทย

ด้าน/บรรทัด

มีอักษรจารึก 19 บรรทัด ที่ด้านหน้าของฐานพระพุทธรูป

ผู้อ่าน

ฮันส์ เพนธ์ (พ.ศ. 2519)

ผู้แปล

ฮันส์ เพนธ์ (พ.ศ. 2519)

ผู้ตรวจ

คณะกรรมการจัดพิมพ์เอกสารทางประวัติศาสตร์ สำนักนายกรัฐมนตรี (พ.ศ. 2519)

เชิงอรรถอธิบาย

1. พันธุ์ทิพย์  ธีระเนตร : “จุลศักพัท 1238 โครงการวิจัยการปริวรรตและชำระจารึกล้านนาได้อธิบายไว้ในหนังสือจารึก
ล้านนาภาค 1 เล่ม 1 ว่า จุลศักพัฑ เป็นภาษาสันสกฤต หมายถึง จุลศักราช (จุฑ = จุล, ศกฺก = ศก, อพฺท = ปี) จุลศักราช 1238 นี้ตรงกับ พ.ศ. 2419 ในสมัยพระเจ้าอินทวิชยานนท์ (ครองเชียงใหม่ระหว่าง พ.ศ. 2416-2439)
2. พันธุ์ทิพย์  ธีระเนตร : “ปีรวายไจ้” คือ  ปีชวด อัฐศก
3. ฮันส์  เพนธ์ : “เพ็ง” = เพ็ญ
4. ฮันส์  เพนธ์ : “เม็ง” = มอญ ในที่นี้ หมายถึง ตามวิธีการนับแบบมอญ
5. พันธุ์ทิพย์  ธีระเนตร : “เค้า” หมายถึง ประธาน
6. ฮันส์  เพนธ์ : “ชาวหอ ชาวโรง” คือ ชาวคุ้ม ชาววัง
7. ฮันส์  เพนธ์ : ที่วัดหัวข่วงพบเพียงพระพุทธรูปนั่ง คือ องค์นี้เท่านั้น
8. ฮันส์  เพนธ์ : “สุทินนํ วตตเม ทานํ” หมายถึง ทานของข้าพเจ้าให้ด้วยดีแล้วหนอ (ข้าพเจ้าได้ถวาย (พระพุทธรูปองค์นี้ไว้ในศาสนา) ด้วยใจบริสุทธิ์)
9. ฮันส์  เพนธ์ : “นิพฺพาน  ปจฺจโย โหตุเมนิจฺจํ” ขอ (ผลบุญที่เกิดจากการสร้างพระพุทธรูป) จงเป็นเครื่องนำข้าพเจ้าไปสู่นิพพานอย่างแน่นอน