จารึก

The Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre

จารึกสร้างเทวรูป

จารึก

จารึกสร้างเทวรูป ด้านที่ 2

QR-code edit Share on Facebook

เวลาที่โพส โพสต์เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 2564 เวลา 21:32:27

ชื่อจารึก

จารึกสร้างเทวรูป

ชื่อจารึกแบบอื่นๆ

Stéle de Văt Ph’u (K. 366), กท. 55, สร. 7, K. 366, เลขทะเบียนโบราณวัตถุที่ 99/287/2550

อักษรที่มีในจารึก

ขอมโบราณ

ศักราช

พุทธศักราช 1682

ภาษา

สันสกฤต, เขมร

ด้าน/บรรทัด

จำนวนด้าน 3 ด้าน มี 69 บรรทัด ด้านที่ 1 มี 30 บรรทัด ด้านที่ 2 มี 30 บรรทัด ด้านที่ 3 มี 9 บรรทัด

ผู้อ่าน

อำไพ คำโท (พ.ศ. 2529)

ผู้แปล

อำไพ คำโท (พ.ศ. 2529)

ผู้ตรวจ

กองหอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร (พ.ศ. 2529)

เชิงอรรถอธิบาย

1. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2547) : ใน Inscriptions du Cambodge อ่านเป็น “วฺไร ขฺจายฺ”
2. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2547) : ใน Inscriptions du Cambodge อ่านเป็น “สศิ”
3. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2547) : ใน Inscriptions du Cambodge อ่านเป็น “สวา”
4. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2547) : ใน Inscriptions du Cambodge อ่านเป็น “สฺตฺรียฺ”
5. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2547) : คำว่า “ทละ” หมายถึง หม้อที่ทำด้วยโลหะ
6. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2547) : คำว่า “กุนติกะ” หมายถึง ภาชนะทำเป็นรูปเหยือกมีสองหู
7. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2547) : ใน Inscriptions du Cambodge อ่านเป็น “กฏาห”
8. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2547) : คำว่า “กทะ” หมายถึง กะทะ
9. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2547) : คำว่า “อรฆยะ” หมายถึง ภาชนะอย่างใส่น้ำอย่างหนึ่ง ใช้สำหรับรับแขก อาจมีลักษณะคล้ายขัน
10. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2547) : ใน Inscriptions du Cambodge อ่านเป็น “สฺรุว”
11. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2547) : คำว่า “บาทยะ” หมายถึง ภาชนะใส่น้ำสำหรับล้างเท้า
12. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2547) : คำว่า “สราวนะ” หมายถึง ชาม
13. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2547) : คำว่า “จรุ” หมายถึง ภาชนะใส่เครื่องเซ่นสังเวย
14. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2547) : คำว่า “ศรูจิ” หมายถึง ทัพพี
15. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2547) : คำว่า “ทรรพี” หรือ “ทรรพพี” หมายถึง ช้อนสำหรับใช้ในพิธี